Page 152 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 152

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
                                                                                                      141
                  คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา ๒๕๖๓                                         141


                  ๔๐๓ ๔๓๕         แนวคิดทางการเมืองของนักคิดส าคัญในตะวันออก                ๓ (๓-๐-๖)

                                  (Eastern Political Thoughts)

                                  ศึกษาแนวคิดทางการเมืองของนักคิดส าคัญในตะวันออก อาทิ ประเทศ
                  อินเดีย ประเทศจีน ประเทศอื่นๆ ในตะวันออก และแนวคิดในอุดมคติทางพระพุทธศาสนา

                  เป็นต้น

                  ๔๐๑ ๔๓๖         ระบอบประชาธิปไตยเปรียบเทียบ                               ๓ (๓-o-๖)
                                  (Comparative Democracy)

                                  ศึกษาแนวคิดประชาธิปไตย ความเป็นมาของประชาธิปไตย เปรียบเทียบ
                  สมัยโบราณและสมัยปัจจุบัน  ประชาธิปไตยของอังกฤษ อเมริกา ฝรั่งเศส ญี่ปุ่น

                  เปรียบเทียบประชาธิปไตยระบบทุนนิยมกับประชาธิปไตยสังคมนิยม ประชาธิปไตยระบบ

                  อังกฤษกับอเมริกาและฝรั่งเศส ประชาธิปไตย ระบบของไทยกับญี่ปุ่นและประชาธิปไตยใน
                  ศตวรรษที่ ๒๑

                  ๔๐๑ ๔๓๗         การเมืองกับความคิดเห็นสาธารณะ                             ๓ (๓-๐-๖)
                                  (Politics and Public Opinions)

                                  ศึกษาเกี่ยวกับความคิดเห็นสาธารณะ รูปแบบการแสดงความคิดเห็น

                  การท าความเข้าใจ การตีความและประเด็นปัญหาในกระบวนการส ารวจความคิดเห็น
                  สาธารณะ บทบาทและผลกระทบของความคิดเห็นสาธารณะต่อประชาธิปไตย นโยบาย

                  สาธารณะและการสร้างสถาบันทางการเมือง การตอบสนองของสังคมและสถาบันทาง

                  การเมืองต่อความคิดเห็นสาธารณะ การครอบง าและการเมืองของความคิดเห็นสาธารณะ
                  การบริหารจัดการและการระดมความคิดเห็นสาธารณะต่อประเด็นปัญหาทางการเมือง

                  ๔๐๑ ๔๓๘         พฤติกรรมทางการเมือง                                       ๓ (๓-o-๖)
                                  (Political Behavior)

                                  ความเป็นมาของการศึกษาแบบพฤติกรรมในทางรัฐศาสตร์ และความ
                  แตกต่างระหว่างการศึกษา รูปแบบธรรมดาหรือแบบปรัชญาการเมืองกับแบบพฤติกรรม

                  ปัจจัยทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อกิจกรรมทางการเมือง ความเกี่ยวข้องระหว่างการ

                  อบรม และการเรียนรู้ทางการเมือง บุคลิกภาพและวัฒนธรรมทางการเมืองกับพฤติกรรม
                  ทางการเมือง โดยจะเน้นเปรียบเทียบระหว่างพฤติกรรมในระบบประเพณีประชาธิปไตย

                  ตะวันตกกับประเทศไทยเป็นส าคัญ
   147   148   149   150   151   152   153   154   155   156   157