Page 24 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 24

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๑๒                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๑๓  13


 ปรมาภิไธย เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.      พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดตั้งศูนย์อ านวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่ออ านวยการในการ
 ๒๕๔๐ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีพระราชบัญญัติรับรองสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ และมีสถานะ  จัดส่งรวมถึงดูแลพระภิกษุสามเณรที่ปฏิบัติหน้าที่พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดขอนแก่น
 เป็นนิติบุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ เน้นจัดการศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา      พุทธศักราช ๒๕๕๒ ได้รับอนุมัติให้เปิดการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาเอก หลักสูตรปริญญา
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ในช่วงทศวรรษที่ ๒ ได้มีการขยายตัว  พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
 ทั้งในด้านหลักสูตรการเรียนการสอนและด้านการบริหารจัดการ การขยายเขตการศึกษาทั้งในระดับวิทยาลัย     พุทธศักราช ๒๕๕๓ เพื่อประโยชน์ในการท างานเผยแผ่พระพุทธศาสนา จึงได้จัดตั้ง ๒ หน่วยงาน คือ
 สงฆ์และระดับห้องเรียน ดังนี้   ศูนย์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ และ
    พุทธศักราช ๒๕๓๙ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับวิทยาลัยสงฆ์ที่วัดศรีวิชัยวนาราม ต าบล  ศูนย์บริการวิชาการด้านพระพุทธศาสนาและอาเซียน
 กุดป่อง อ าเภอเมือง จังหวัดเลย เปิดด าเนินการสอนสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนภาษาไทย มีนิสิตรุ่นแรก     พุทธศักราช ๒๕๕๔ จัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่อ าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
 จ านวน ๓๕ รูป    ให้เป็นสถานีวิทยุคู่ขนานกับสถานีวิทยุหลักของวิทยาเขตขอนแก่น ส่งผลให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนามีความ
    พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับห้องเรียนโดยในการประชุมสภา  เป็นเครือข่ายมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ท าให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนามีประสิทธิภาพมากขึ้น
 มหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๖/๒๕๔๒ วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงได้ด าเนินการก่อตั้งขึ้นที่วัดบูรพาภิราม                    พุทธศักราช ๒๕๕๕ ได้จัดตั้งหน่วยงานที่มีความส าคัญต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้แก่ ศูนย์ภาษา
 (พระอารามหลวง) ถนนผดุงพานิช ต าบลในเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด เปิดด าเนินการสาขาวิชาศาสนา  ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอาเซียน ให้เป็นศูนย์ในการถ่ายถอดภาษา ภูมิปัญญา รวมถึงวัฒนธรรมของท้องถิ่นใน
 และปรัชญา มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๒๙ รูป ปัจจุบันได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ ๒๖   อาเซียนไว้ด้วย ขณะเดียวกัน ก็จะเป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนประเด็นวัฒนธรรมท้องถิ่นในอาเซียน
 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘   ที่ต้องการชูประเด็นส าคัญด้านวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาในอาเซียน เพื่อขับเคลื่อนสื่อวัฒนธรรมทาง
    พุทธศักราช ๒๕๔๙ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับหน่วยวิทยบริการมหาสารคาม ตั้งอยู่ที่  พระพุทธศาสนาในภูมิภาคอินโดจีนต่อไป
 เลขที่ ๕๗๗ วัดอภิสิทธิ์ ถนนนครสวรรค์ ต าบลตลาด อ าเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม เปิดด าเนินการจัดการ     วิทยาเขตขอนแก่น เป็นเขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งเป็น
 เรียนการสอนสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๔๑ รูป ปัจจุบันได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐
 สงฆ์มหาสารคาม เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑   ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่ ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ มีฐานะเป็นนิติบุคคล
    ขณะเดียวกัน ได้ขยายเขตการศึกษาระดับศูนย์การศึกษาตั้งอยู่ที่วัดกลาง (พระอารามหลวง) ต าบล
 ในเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)

 มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๕๐ รูป นอกจากนี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับอนุมัติให้เปิดด าเนินการจัดการเรียนการสอน
 ระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตขอนแก่น ได้เปิดการเรียนการสอนสาขาวิชาพระพุทธศาสนา หลักสูตรปริญญา
 พุทธศาสตรมหาบัณฑิต เป็นรุ่นแรก

    ทศวรรษที่ ๓ : ก้าวย่างสู่การเป็นวิทยาเขตที่เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน)
    ในทศวรรษที่ ๓ เป็นทศวรรษก้าวย่างเป็นวิทยาเขตในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภาค
 ตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน ในด้านต่าง ๆ ดังนี้
    พุทธศักราช ๒๕๕๐ เนื่องจากมีนิสิตเพิ่มจ านวนมากขึ้น ท าให้อาคารเรียนที่มีอยู่เดิมที่วัดธาตุ
 (พระอารามหลวง) ไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จึงย้ายที่ท าการไปใช้ที่ดินโคกสร้างหล่มวัดป่าศรี

 เจริญธรรม เป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ ประกอบด้วยอาคารเรียน อาคารหอสมุดสารสนเทศ อาคารสถานี
 วิทยุกระจายเสียง และอาคารหอประชุม เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ   พระธรรมวิสุทธาจารย์
 สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดป้ายมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
    ด้านจัดการเรียนการสอน ได้ขออนุมัติหลักสูตรเพิ่มเติมอีกหลายสาขาวิชา และก าหนดวิสัยทัศน์ให้  อดีตรองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่ง “การจัดการศึกษาและ  ผู้บุกเบิกการศึกษาพระปริยัติธรรมและอุดมศึกษา
 เผยแผ่พระพุทธศาสนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน (Education Arrangement and               ล าดับรองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น

 Buddhism Propagation in the Northeast of Thailand and indo-China Region)” บนพื้นฐานของ     รูปที่ ๑ พระธรรมวิสุทธาจารย์ (เหล่ว สุมโน ป.ธ.๕, พธ.ด. กิตติมศักดิ์) พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๔๑
 ความรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจ      รูปที่ ๒ พระครูปริยัติสารเมธี (อาณัติ กลฺยาณเมธี ป.ธ.๔ พธ.บ. M.A.) พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒
 และสังคม นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งในการ     รูปที่ ๓ พระราชประสิทธิคุณ (สุนันท์ สุภาจาโร ป.ธ.๗, พธ.บ., พธ.ด.กิตติมศักดิ์) พ.ศ. ๒๕๔๒ –
 เผยแผ่พระพุทธศาสนาในพื้นที่รวมถึงการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย   ๒๕๔๕
                         รูปที่ ๔ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร. (สุกันยา อรุโณ/ฮาดภักดี พธ.บ., ศษ.บ., ศศ.ม., Ph.D.)

                  พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปัจจุบัน
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29