Page 15 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 15
4 | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๔ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
วิสัยทัศน์
“มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาระดับโลก”
World University of Buddhism, WUoB
พันธกิจ ๔ ด้าน
การผลิตบัณฑิต
ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF : HEd)
โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาบูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนสอน เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีคุณภาพ
เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ที่ให้การศึกษาเป็นเครื่องมือกลไกในการพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ ให้มีความเป็นพลเมือง (มีองค์ประกอบ ๔ ด้าน คือ มีคุณลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ มีองค์ความรู้ที่ส าคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และมีทักษะการ
ด ารงชีวิต) และมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามนวลักษณ์ของบัณฑิต ๙ ประการ
นวลักษณ์ของบัณฑิต
๑. มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส M = Morality
๒. รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม A = Awareness
๓. มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา H = Helpfulness
๔. มีความสามารถและทักษะด้านภาษา A = Ability
๕. ใฝ่รู้ใฝ่คิด C = Curiosity
๖. รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม H = Hospitality
๗. มีโลกทัศน์กว้างไกล U = Universality
๘. เป็นผู้น าด้านจิตใจและปัญญา L = Leadership
๙. มีศักยภาพพร้อมที่จะใช้และพัฒนานวัตกรรม A = Aspiration
การวิจัยและพัฒนา
วิจัยและพัฒนา หมายถึง การวิจัยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมควบคู่ไปกับ
กระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ในพระไตรปิฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วน าองค์ความรู้ที่
ค้นพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนาคุณภาพงานวิชาการด้าน
พระพุทธศาสนาโดยความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา ที่มีชื่อเสียงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
เพื่อพัฒนาคุณภาพนักวิจัยและงานวิจัยให้มีคุณภาพ และความเป็นสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม
ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการ
วิชาการแก่สังคม ตามปณิธานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ด้วยการปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง
เอื้อต่อการส่งเสริม สนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู้ความเข้าใจหลักค าสอนทางพระพุทธศาสนา
สร้างจิตส านึกด้านคุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชน โดยการจัดประชุม สัมมนา และฝึกอบรม เพื่อพัฒนา
พระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศักยภาพในการธ ารงรักษา เผยแผ่หลักค าสอน และเป็นแกนหลักในการ
พัฒนาจิตใจในวงกว้าง
การทะนุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม
ทะนุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง การเสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด้านการทะนุบ ารุง
ศิลปะและวัฒนธรรม ให้เอื้อต่อการศึกษาโดยใช้พระพุทธศาสนาเป็นกลไกเพื่อสร้างจิตส านึกและความ
ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้มีการน าภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นรากฐานของการ
พัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน