Page 16 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 16

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๕  5


 วิสัยทัศน์       ประวัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
    “มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาระดับโลก”       มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มหาวิทยาลัยสงฆ์แห่งคณะสงฆ์ไทยเป็นสถาบันการศึกษาชั้นสูงของ
     World University of Buddhism, WUoB   คณะสงฆ์ไทย ซึ่งสมเด็จบรมบพิตรพระราชสมภารเจ้า สมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า
                  เจ้าอยู่หัว ได้ทรงให้ย้ายการสอนพระปริยัติธรรมจากศาลาบอกพระปริยัติธรรมภายในวัดพระศรีรัตนศาสดาราม
 พันธกิจ ๔ ด้าน    ไปตั้งที่วัดมหาธาตุ เพื่อเป็นที่เล่าเรียนของพระสงฆ์ฝ่ายมหานิกายและคฤหัสถ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ และโปรดให้
    การผลิตบัณฑิต   สถาปนาขึ้นเมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๒ มีชื่อเดิมว่า “มหาธาตุวิทยาลัย” และมีพระบรมราชโองการเปลี่ยนนามใหม่ว่า
    ผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพ เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF : HEd)   “มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย” เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ โดยมีพระราชประสงค์จะให้เป็น
 โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาบูรณาการในกระบวนการจัดการเรียนสอน เพื่อให้ได้บัณฑิตที่มีคุณภาพ   อนุสรณ์เฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์สืบไป ดังปรากฏในประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สังฆิก
 เป็นไปตามจุดมุ่งหมายของแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ ที่ให้การศึกษาเป็นเครื่องมือกลไกในการพัฒนา  เสนาศน์ราชวิทยาลัย
 ทรัพยากรมนุษย์ ให้มีความเป็นพลเมือง (มีองค์ประกอบ ๔ ด้าน คือ มีคุณลักษณะนิสัยและพฤติกรรมที่พึง        มหาธาตุวิทยาลัยได้เปิดท าการสอนเป็นทางการ เมื่อวันที่ ๘ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๓๒ ต่อมา
 ประสงค์ มีองค์ความรู้ที่ส าคัญในศตวรรษที่ ๒๑ มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และมีทักษะการ  พระยาภาสกรวงศ์ เสนาบดีกระทรวงธรรมการ ได้ยกร่างพระราชบัญญัติฉบับแรกของมหาจุฬาลงกรณราช
 ด ารงชีวิต) และมีคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์ตามนวลักษณ์ของบัณฑิต ๙ ประการ    วิทยาลัย เรียกว่า ร่างพระราชบัญญัติมหาธาตุวิทยาลัย  ร.ศ. ๑๑๑ (พ.ศ. ๒๔๓๕) ขึ้นทูลเกล้าฯ ถวาย
    นวลักษณ์ของบัณฑิต    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เพื่อทรงน าเข้าปรึกษาในที่ประชุมเสนาบดี ร่างพระราชบัญญัติฉบับ

    ๑. มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส                       M = Morality   นี้ยังไม่ได้ลงพระปรมาภิไธย จึงถือว่ายังมิได้เป็นพระราชบัญญัติที่มีผลบังคับใช้แต่อย่างใด ต่อมา
    ๒. รู้เท่าทันความเปลี่ยนแปลงของสังคม         A = Awareness   พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้คิดแบบสร้างถาวรวัตถุ เรียกว่า “สังฆเสนาสน์ราช
    ๓. มีศรัทธาอุทิศตนเพื่อพระพุทธศาสนา           H = Helpfulness   วิทยาลัย” ขึ้นในวัดมหาธาตุ เพื่อใช้เป็นสถานที่บ าเพ็ญพระราชกุศลพระศพสมเด็จเจ้าฟ้ามหาวชิรุณหิศ และ
    ๔. มีความสามารถและทักษะด้านภาษา          A = Ability   ทรงประสงค์จะอุทิศถวายถาวรวัตถุนี้เป็นสังฆิกเสนาสน์ส าหรับมหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่เล่าเรียนพระปริยัติ
    ๕. ใฝ่รู้ใฝ่คิด                                    C = Curiosity   สัทธรรมและวิชาชั้นสูง โดยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด าเนินไปทรงวางศิลาก่อ
    ๖. รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม                 H = Hospitality   พระฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ และได้พระราชทานเปลี่ยนนามมหาธาตุวิทยาลัยเป็นมหาจุฬาลง
    ๗. มีโลกทัศน์กว้างไกล                           U = Universality   กรณราชวิทยาลัย
    ๘. เป็นผู้น าด้านจิตใจและปัญญา                       L = Leadership      เพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ ตามประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สังฆ
    ๙. มีศักยภาพพร้อมที่จะใช้และพัฒนานวัตกรรม   A = Aspiration   เสนาสน์ราชวิทยาลัย ร.ศ. ๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๓๙) ความตอนหนึ่งว่า “จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตั้ง
                  วิทยาลัยที่เล่าเรียนพระไตรปิฎกแลวิชาชั้นสูงขึ้น ๒ สถานๆ หนึ่งเป็นที่เล่าเรียนของพระสงฆ์ฝ่าย
 การวิจัยและพัฒนา   ธรรมยุติกนิกาย ได้ตั้งไว้ที่วัดบวรนิเวศวรวิหาร พระอารามหลวง พระราชทานนามว่า มหามกุฎราชวิทยาลัย
    วิจัยและพัฒนา หมายถึง  การวิจัยและค้นคว้า เพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมควบคู่ไปกับ  อีกสถานหนึ่งเป็นที่เล่าเรียนของพระสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย ได้ตั้งไว้ที่วัดมหาธาตุ ราชวรมหาวิหาร พระอาราม
 กระบวนการเรียนการสอน เน้นการพัฒนาองค์ความรู้ในพระไตรปิฎก โดยวิธีสหวิทยาการแล้วน าองค์ความรู้ที่  หลวงนี้ มีนามว่ามหาธาตุวิทยาลัย ได้เปิดการเล่าเรียนแต่วันที่ ๘ พฤศจิกายน รัตนโกสินทร์ ศก ๑๐๘ สืบมา
 ค้นพบมาประยุกต์ใช้แก้ปัญหาศีลธรรม และจริยธรรมของสังคม รวมทั้งพัฒนาคุณภาพงานวิชาการด้าน  แต่สังฆิกเสนาสน์ส าหรับมหาธาตุวิทยาลัยนี้ยังไม่เป็นที่สมควรแก่การเล่าเรียน... เมื่อการบ าเพ็ญพระราชกุศล
 พระพุทธศาสนาโดยความร่วมมือกับสถาบันการศึกษา  ที่มีชื่อเสียงทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ                            ส่วนนั้นเสร็จแล้วจะได้ทรงพระราชอุทิศถวายถาวรวัตถุนี้เป็นสังฆิกเสนาสน์ส าหรับมหาธาตุวิทยาลัย เพื่อเป็นที่
 เพื่อพัฒนาคุณภาพนักวิจัยและงานวิจัยให้มีคุณภาพ  และความเป็นสากลได้อย่างมีประสิทธิภาพ   เล่าเรียนพระปริยัติสัทธรรมแลวิชาชั้นสูงสืบไปภายหน้า พระราชทานเปลี่ยนนามใหม่ว่า มหาจุฬาลงกรณราช
                  วิทยาลัย เพื่อให้เป็นที่เฉลิมพระเกียรติยศสืบไป...”
 การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม         มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้จัดการศึกษาพระปริยัติธรรมแผนเดิมในนามมหาธาตุวิทยาลัย
    ส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการวิชาการแก่สังคม หมายถึง การส่งเสริมพระพุทธศาสนาและบริการ  ตลอดมา จนกระทั่งวันที่ ๙ มกราคม พ.ศ. ๒๔๙๐ พระมหาเถระฝ่ายมหานิกาย จ านวน ๕๗ รูป มีพระพิมล
 วิชาการแก่สังคม ตามปณิธานการจัดตั้งมหาวิทยาลัย ด้วยการปรับปรุงกิจกรรมต่างๆ ให้ประสานสอดคล้อง   ธรรม (ช้อย ฐานทัตตเถร) เป็นประธานได้ประชุมกัน ณ ต าหนักสมเด็จ วัดมหาธาตุฯ ประกาศให้มหาจุฬาลง
 เอื้อต่อการส่งเสริม สนับสนุนกิจการคณะสงฆ์ สร้างความรู้ความเข้าใจหลักค าสอนทางพระพุทธศาสนา                กรณราชวิทยาลัย ด าเนินการจัดการศึกษาในรูปมหาวิทยาลัย ตามพระราชปณิธานของพระบาทสมเด็จพระ
 สร้างจิตส านึกด้านคุณธรรมจริยธรรมแก่ประชาชน โดยการจัดประชุม สัมมนา และฝึกอบรม เพื่อพัฒนา  จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยได้เปิดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัย ตั้งแต่วันที่
 พระสงฆ์และบุคลากรทางศาสนา ให้มีศักยภาพในการธ ารงรักษา เผยแผ่หลักค าสอน และเป็นแกนหลักในการ  ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา อย่างไรก็ตาม แม้มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจะได้เปิดการศึกษาใน
 พัฒนาจิตใจในวงกว้าง   รูปแบบมหาวิทยาลัยตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๙๐ เป็นต้นมา ทางบ้านเมืองก็มิได้รับรองสถานภาพให้เป็นมหาวิทยาลัย

 การทะนุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม   ตามกฎหมาย นั่นคงเป็นเพราะว่าประกาศพระราชปรารภในการก่อพระฤกษ์สังฆเสนาสน์ราชวิทยาลัย
    ทะนุบ ารุงศิลปะและวัฒนธรรม หมายถึง การเสริมสร้างและพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ด้านการทะนุบ ารุง  ร.ศ.๑๑๕ (พ.ศ. ๒๔๓๙) ที่หลวงวิจิตรวาทการกล่าวถึงนั้นเป็นเพียงประกาศพระราชปรารภในการวางศิลาฤกษ์
 ศิลปะและวัฒนธรรม ให้เอื้อต่อการศึกษาโดยใช้พระพุทธศาสนาเป็นกลไกเพื่อสร้างจิตส านึกและความ  อาคารของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งไม่อาจถือได้ว่าเป็นพระราชบัญญัติมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 ภาคภูมิใจในความเป็นไทย รวมทั้งส่งเสริม สนับสนุนให้มีการน าภูมิปัญญาท้องถิ่น มาเป็นรากฐานของการ  เพราะยังไม่ได้ลงพระปรมาภิไธย
 พัฒนาอย่างมีดุลยภาพและยั่งยืน
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21