Page 170 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 170

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
                                                                                                      159
                  คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา ๒๕๖๓                                          159


                  ๔๐๒ ๔๓๐          ธรรมาภิบาลเพื่อการบริหาร                                  ๓ (๓-๐-๖)

                                  (Good Governance for the Administration)

                                  ศึกษาความหมาย ทฤษฎี หลักการและองค์ประกอบของธรรมาภิบาล
                  หลักธรรมาภิบาลกับสังคมไทย หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองและสังคมที่ดี หลักธรรมาภิ

                  บาลกับการบริหารจัดการภาครัฐ ภาคธุรกิจ ภาคเอกชน และประชาชน การบริหารจัดการ

                  ยุคใหม่ตามหลักธรรมาภิบาลและธรรมาภิบาลเชิงพุทธ
                  ๔๐๒ ๔๓๑         การระดมมวลชนและเคลื่อนไหวทางสังคม                          ๓ (๓-๐-๖)

                                  (Mobilization and Mass Social Movements)

                                  ศึกษาแนวคิดและหลักการในการในการระดมมวลชนและเคลื่อนไหวทาง
                  สังคม โดยเริ่มจากบริบทของสภาพปัญหาทางสังคม ที่น าไปสู่การระดมมวลชน

                  กระบวนการแก้ปัญหา การตั้งกฎ กติกา ส าหรับการแข่งขันต่อสู้ระหว่างกลุ่มต่างๆ การ
                  ประนีประนอม และสร้างความสมดุลระหว่างผลประโยชน์ การแสดงผลของการ

                  ประนีประนอมในรูปของนโยบายสาธารณะ การบังคับใช้ข้อตกลงหรือนโยบายสาธารณะ

                  ดังกล่าว อันเป็นผลมาจากการระดมมวลชนและการเคลื่อนไหวทางสังคม
                  ๔๐๒ ๔๓๒         การบริหารความเสี่ยง                                        ๓ (๓-๐-๖)

                                  (Risk Management)
                                  ศึกษาแนวคิดและหลักการในการบริหารความเสี่ยง กระบวนการในการ

                  ป้องกันอ านาจและทรัพย์สินโดยการลดโอกาสของการสูญเสีย การควบคุมความเสี่ยงการ

                  วางแผนความเสี่ยง การประเมินความเสี่ยง การตรวจสอบความเสี่ยงและบันทึกการบริหาร
                  ความเสี่ยง วิธีการบริหารจัดการที่เป็นไป  เพื่อการคาดการณ์และลดผลเสียของความไม่

                  แน่นอนที่จะเกิดขึ้นกับองค์กร การบริหารปัจจัยและควบคุมกิจกรรม รวมทั้งกระบวนการ

                  ด าเนินงานต่างๆ โดยลดมูลเหตุและโอกาสที่องค์กรจะเกิดความเสี่ยง
                  ๔๐๒ ๔๓๓         การจัดการความรู้ในองค์กรภาครัฐ                             ๓ (๓-๐-๖)

                                  (Knowledge management in public sector organizations)

                                  ศึกษาแนวคิดและหลักการในกระบวนการจัดการความรู้มี ๗ กิจกรรม
                  ดังนี้ ๑) การบ่งชี้ความรู้ คือ การระบุประเด็นความรู้ รูปแบบ และผู้รู้ที่สอดรับกับนโยบาย

                  ขอบเขตและเป้าหมายขององค์กร ๒) การสร้างและแสวงหาความรู้ คือการรวบรวมความรู้
                  ใหม่ รักษาความรู้เดิม และกรองความรู้ที่ไม่ใช้ออกจากแหล่งรวบรวม ๓) การจัดความรู้ให้

                  เป็นระบบ คือ การวิเคราะห์และคัดแยกความรู้เป็นกลุ่มประเด็นให้ง่ายต่อการเข้าถึงอย่างมี

                  ขั้นตอน ๔) การประมวลและกลั่นกรองความรู้ คือ การปรับปรุงให้ความรู้มีรูปแบบ
                  มาตรฐาน ไม่ซ้ าซ้อน มีความสมบูรณ์ มีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ ๕) การเข้าถึงความรู้

                  คือ การสร้างแหล่งเผยแพร่ที่สามารถเข้าถึงได้ทุกที่ทุกเวลา ๖) การแบ่งปันแลกเปลี่ยน
   165   166   167   168   169   170   171   172   173   174   175