Page 190 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 190

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
                                                                                                      179
                  คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา ๒๕๖๓                                         179


                                  ศึกษาประวัติความหมายประเภทและพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก

                  อรรถกถา ฎีกา อนุฎีกา โยชนา และปกรณ์วิเสส วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย และ
                  คุณค่าของวรรณกรรมบาลีต่อสังคมไทย

                  ๐๐๐ ๑๔๕         บาลีไวยากรณ์                                              ๒ (๒-๐-๔)
                                  (Pali Grammar)

                                  ศึกษาการเขียน การอ่านภาษาบาลี ฐานกรณ์ การออกเสียงพยัญชนะ
                  สังโยค การเชื่อมอักษรด้วยสนธิกิริโยปกรณ์ ประเภท และวิธีแจกค านาม สังขยา อัพยย

                  ศัพท์ กิริยาอาขยาต นามกิตก์ กิริยากิตก์ สมาส และตัทธิต

                  ๐๐๐ ๑๔๖         แต่งแปลบาลี                                               ๒ (๒-๐-๔)
                                  (Pali Composition and Translation)

                                  ศึกษาการแต่งบาลี การแปลบาลีทั้งโดยอรรถและโดยพยัญชนะให้ถูกต้อง
                  ตามหลักภาษา การแต่ง และการแปลประโยคพิเศษ และส านวนที่ควรทราบ การแปลบาลี

                  เป็นไทย และแปลไทยเป็นบาลี จากหนังสือที่ก าหนด

                  ๐๐๐ ๑๔๗         พระไตรปิฎกศึกษา                                           ๒ (๒-๐-๔)
                                  (Tipitaka Studies)

                                  ศึกษาก าเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การ

                  จ าแนกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก ค าอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์
                  การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลายลักษณ์อักษร ล าดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา

                  ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษา
                  พระไตรปิฎก

                  ๐๐๐ ๑๔๘         พระวินัยปิฎก                                      ๒ (๒-๐-๔)

                                  (Vinaya Pitaka)
                                  ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก

                  เลือกศึกษาวิเคราะห์เนื้อหาสาระที่ส าคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค
                  จุลวรรค และปริวาร โดยอาศัยอรรถกถาและฎีกาประกอบ และประโยชน์ที่ได้รับจาก

                  การศึกษาพระวินัยปิฎก

                  ๐๐๐ ๑๔๙         พระสุตตันตปิฎก                                            ๒ (๒-๐-๔)
                                  (Suttanta Pitaka)

                                  ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระสุตตันตปิฎก

                  เลือกศึกษาวิเคราะห์พระสูตรที่ส าคัญ คือ พรหมชาลสูตร มหาปรินิพพานสูตร อัคคัญญ
                  สูตร รวมทั้งประเด็นส าคัญที่น่าสนใจ จากนิกายทั้ง ๕ นิกาย คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย

                  สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย และขุททกนิกาย โดยอาศัยอรรถกถา และฎีกาประกอบ
   185   186   187   188   189   190   191   192   193   194   195