Page 192 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 192

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
                                                                                                      181
                  คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา ๒๕๖๓                                         181


                  ๐๐๐ ๒๖๒         ธรรมนิเทศ                                                 ๒ (๒-๐-๔)

                                  (Dhamma communication)

                                  ศึกษาหลักการและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ศิลปะการเขียน
                  บทความ การพูด และการพัฒนาบุคลิกภาพเกี่ยวกับการพูด การเทศนา การแสดงปาฐกถา

                  ธรรม การอภิปราย และการใช้สื่อประกอบการบรรยาย

                  ๐๐๐ ๒๖๓         งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา                        ๒ (๒-๐-๔)
                                  (Research and Literary Works on Buddhism)

                                  ศึกษางานวิจัยทางพระพุทธศาสนา และวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา
                  ในประเทศไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่

                  น่าสนใจ เช่น เตภูมิกถาของพญาลิไท มังคลัตถทีปนีของพระสิริมังคลาจารย์ กาพย์มหาชาติ

                  ของพระเจ้าทรงธรรม สังคีติยวงศ์ของสมเด็จพระวันรัต (แก้ว) วัดพระเชตุพน พระมงคล
                  วิเสสกถาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แก่นพุทธศาสน์

                  ของพุทธทาส กรรมทีปนีของพระพรหมโมลี (วิลาส ญาณวโร) พุทธธรรมของพระพรหม
                  คุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิทยาของอาจารย์พร รัตนสุวรรณ และงานวิจัยและ

                  วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


                                  ค. กลุ่มวิชาวิปัสสนาธุระ ๔ หน่วยกิต

                  ๐๐๐ ๑๕๑         ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                                 (๒)(๑-๒-๔)

                                  (Buddhist Meditation I)
                                  ศึกษาความเป็นมา ความหมาย หลักการ วิธีการ และประโยชน์ของการ

                  ปฏิบัติกรรมฐาน อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ๔๐ วิปัสสนาภูมิ ๖ สติปัฏฐาน ๔ หลักธรรมที่
                  ควรรู้ ได้แก่ ภาวนา ๓ นิมิต ๓ สมาธิ ๓ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ วสี ๕ นิวรณ์ ๕ อุปกิเลส

                  ๑๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและน าไปใช้ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการ

                  เดินจงกรม ๑ ระยะ นั่งก าหนด ๑ ระยะ หรือ ๒ ระยะ
                  ๐๐๐ ๑๕๒         ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒                                         ๑ (๑-๒-๔)

                                  (Buddhist Meditation II)
                                  ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติ

                  ปัฏฐานสูตร และอานาปานสติสูตร วิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั้งแบบสมถยานิกะ

                  และวิปัสสนายานิกะ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ สิกขา ๓ วิชชา ๓ และสามัญญลักษณะ ๓
                  ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๒ ระยะ นั่งก าหนด ๒ ระยะ ส่งและสอบ

                  อารมณ์
   187   188   189   190   191   192   193   194   195   196   197