Page 100 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 100

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   91

 ๙๐       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๙๑


 (๔) วิทยานิพนธ์                  หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
 ก าหนดให้ แผน ก แบบ ก ๒ ท าวิทยานิพนธ์

 ๖๐๒ ๔๐๐    วิทยานิพนธ์                  ๑๒ (๐-๔๕-๐)   หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐
            Thesis
                  ๑. ชื่อหลักสูตร

                         ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             :  พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา

                         ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ       :  Master of Arts  Programme in Philosophy

                  ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

                         ชื่อเต็มภาษาไทย              :  พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (ปรัชญา)
                         ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ                 :  Master of Arts  (Philosophy)
                         ชื่อย่อภาษาไทย               :  พธ.ม. (ปรัชญา)
                         ชื่อย่อภาษาอังกฤษ            :  M.A. (Philosophy)


                  ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
                         หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
                         บัณฑิตศึกษา  มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
                         ปรัชญาของหลักสูตร
                         ผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้เป็นผู้มีความใฝ่รู้  ใฝ่สร้างสรรค์ และมีวิสัยทัศน์

                  กว้างไกล ให้เป็นนักคิด นักวิเคราะห์ นักวิจารณ์ นักวิพากษ์ และนักสังเคราะห์ องค์ความรู้ทางปรัชญาและ
                  ศาสนา โดยเฉพาะพุทธปรัชญา เพื่อพัฒนามนุษย์และสังคม
                         ความส าคัญของหลักสูตร

                         ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ท าให้สังคมมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
                  การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบอย่างมากต่อมนุษย์ในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านความจริง  ความ
                  ดี และความงามที่มนุษย์เคยยึดถือ  จึงส่งผลให้สังคมต้องเผชิญปัญหาที่ไม่สามารถจะแก้ไขได้ด้วยกฎหมายหรือ

                  ระเบียบทางสังคม การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวจ าเป็นจะต้องจัดการศึกษาให้มนุษย์เป็นผู้มีความสามารถรู้เท่า


                  ทันการเปลี่ยนแปลง โดยวิเคราะห์ วิจารณ์ วิพากษ์เรื่องความจริง ความดี และความงาม จนกระทั่งรู้จัก
                  แยกแยะคุณค่าที่ส าคัญระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสังคม มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และมนุษย์กับ
                  เทคโนโลยี  ซึ่งจะท าให้มนุษย์สามารถรู้และตัดสินใจว่าสิ่งใดควรท า สิ่งใดไม่ควรท า เพื่อการด ารงชีวิตอยู่ใน

                  สังคมได้อย่างมีความสุข  การศึกษาวิชาปรัชญาจึงมีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างยิ่ง  เพราะวิชานี้สอนให้มนุษย์มี
                  ความรู้ในด้านความจริง  ความดี และความงาม  โดยเน้นการปลูกฝังศักยภาพในด้านการวิเคราะห์ วิจารณ์
                  วิพากษ์ และสังเคราะห์องค์ความรู้บนฐานของความจริง ความดี และความงาม  ผลที่ได้จากการศึกษาวิชานี้จะ

                  ท าให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตนเองและสังคมให้มีความผาสุกอย่างยั่งยืนได้
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105