Page 98 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 98

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   89

 ๘๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๘๙


    ๖๐๐ ๒๐๕    กรรมฐาน                            (๓) (๓-๐-๖)      ๖๐๒ ๒๐๘    ศึกษางานส าคัญทางพระพุทธศาสนา            ๓ (๓-๐-๖)
                            Buddhist Meditation                Selected Buddhist Works

             ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา                   ศึกษาผลงานทางคัมภีร์ ผลงานทางวรรณกรรมและหลักค าสอนส าคัญของนักปราชญ์ทาง
 อนุฎีกา และปกรณ์วิเสส รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของส านักต่างๆ ในสังคมไทย โดยเน้นศึกษา  พระพุทธศาสนาคนส าคัญทั้งในอดีตและปัจจุบันที่สะท้อนอัตลักษณ์และการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น
 อารมณ์ของสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ล าดับขั้นตอนของการเจริญกรรมฐานและผลที่เกิดจากการ  ผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ พระอนุรุทธาจารย์ พระสิริมังคลาจารย์ พระพุทธทาสภิกขุ พระพุทธโฆสาจารย์
 เจริญกรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น   (ป.อ.ปยุตฺโต) พระวัลโปละราหุล พระโสภณมหาเถระ (เลดีสยาดอ) นาคารชุน อสังขะ วสุพันธุ สองขะปะ
    ๖๐๐ ๔๐๑    สัมมนาวิทยานิพนธ์                        (๓) (๓-๓-๖)   (วัชรยาน) พระนารทมหาเถระ (ศรีลังกา) ริส เดวิดส์ เชอร์บาตสกี ดี.ที.ซูซูกิ ทะไลลามะ ติช นัท ฮันห์ เป็นต้น

       Seminar on Thesis          (๓) วิชาเลือก โดยแผน ก แบบ ก (๒) ให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต

   สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับตัวอย่างงานวิจัยและวิทยานิพนธ์  วิเคราะห์โครงสร้างเนื้อหา     ๖๐๒ ๓๐๙    สัมมนาพระพุทธศาสนา                 ๓ (๓-๐-๖)
 วิทยานิพนธ์ โดยเน้นการตั้งชื่อ วัตถุประสงค์ ขอบเขตการวิจัย ค านิยามศัพท์ที่ใช้ในการวิจัย การทบทวน                             Seminar on Buddhism

 วรรณกรรม วิธีการด าเนินการวิจัย และผลการวิจัย รวมทั้งฝึกปฏิบัติการเขียนวิทยานิพนธ์และบทความวิจัย      สัมมนาพระพุทธศาสนากับประเด็นปัญหาสังคมปัจจุบัน  โดยให้นิสิตมีส่วนร่วมในการก าหนดประเด็น
    ๑๐๒ ๓๐๒    การใช้ภาษาบาลี ๑                        (๓) (๓-๐-๖)   การอภิปราย เสนอข้อคิดเห็น และการวิเคราะห์หาแนวทางประยุกต์พุทธธรรมมาแก้ปัญหาสังคมปัจจุบัน
        Usage of Pali I      ๖๐๒ ๓๑๐    พุทธจริยศาสตร์กับปัญหาสังคมร่วมสมัย                       ๓ (๓-๐-๖)
    ศึกษาประวัติและพัฒนาการภาษาบาลี  การพูด อ่าน เขียน ภาษาบาลีในระดับพื้นฐาน และแปลบาลี                             Buddhist Ethics and Contemporary Social Problems

 เป็นภาษาไทยและภาษาไทยเป็นภาษาบาลี โดยใช้หนังสือชาตกัฏฐกถาและธรรมปทัฏฐกถาประกอบ      ศึกษาแนวคิดทางพุทธจริยศาสตร์ที่เกี่ยวกับเกณฑ์ตัดสินความดี ความชั่ว ควร ไม่ควร เพื่อเป็นฐานใน
    ๑๐๒ ๓๐๖    การใช้ภาษาบาลี ๒                         (๓) (๓-๐-๖)   การอธิบายและตอบปัญหาสังคมร่วมสมัย โดยเฉพาะปัญหาที่มีผลกระทบมาจากความก้าวหน้าทางด้าน
        Usage of Pali II   วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เช่น การท าแท้ง การตัดต่อพันธุกรรม การท าการุณยฆาต การท าโคลนนิ่ง
    ศึกษาการพูด อ่าน เขียน ภาษาบาลี ต่อจากการใช้ภาษาบาลี ๑ และแปลภาษาบาลีเป็นไทย และ  ๖๐๒ ๓๑๑    ขบวนการพุทธใหม่ในโลกปัจจุบัน             ๓ (๓-๐-๖)

 ภาษาไทยเป็นภาษาบาลี โดยใช้หนังสือมังคลัตถทีปนีและวิสุทธิมรรคประกอบ                              New-Buddhist Movements in Contemporary World
                          ศึกษาขบวนการพระพุทธศาสนาแนวใหม่ที่เกิดขึ้นในสังคมโลกปัจจุบัน ความสัมพันธ์ระหว่างบริบท
           (๒) วิชาเอก ๑๒ หน่วยกิต        ทางสังคมกับการเกิดขึ้นของขบวนการพระพุทธศาสนา รูปแบบการจัดตั้งองค์กร การตีความค าสอน วิธีการ
 ๖๐๒ ๑๐๖    พระพุทธศาสนาเถรวาท                 ๓ (๓-๐-๖)   เผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมทั้งอิทธิพลต่อสังคมปัจจุบัน

                            Theravada Buddhism      ๖๐๒ ๓๑๓    พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่             ๓ (๓-๐-๖)
          ศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของพระพุทธศาสนาเถรวาท คัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาทและหลักค า                             Buddhism and Modern Sciences
 สอนส าคัญที่สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนาเถรวาท  พร้อมทั้งการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเถรวาทใน      ศึกษาพระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์

 ประเทศต่างๆ      โดยการบูรณาการ การวิเคราะห์เปรียบเทียบและการประยุกต์อธิบายค าสอนทางพระพุทธศาสนา
 ๖๐๒ ๓๐๗    พระพุทธศาสนามหายาน                ๓ (๓-๐-๖)      ๖๐๒ ๓๑๔    พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย            ๓ (๓-๐-๖)
                             Mahayana Buddhism                 Buddhism and Thai wisdom
           ศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของพระพุทธศาสนามหายาน คัมภีร์ส าคัญ นิกายส าคัญทาง      ศึกษาหลักธรรมส าคัญของพระพุทธศาสนาที่มีความสัมพันธ์กับภูมิปัญญาไทย ในด้านประวัติศาสตร์
 พระพุทธศาสนามหายานและค าสอนส าคัญที่สะท้อนอัตลักษณ์ความเป็นพุทธศาสนามหายาน  พร้อมทั้งการ  ปรัชญา ความเชื่อ จารีตประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม เป็นต้น โดยวิเคราะห์บทบาทและอิทธิพลของ

 เผยแผ่พระพุทธศาสนามหายานในประเทศต่างๆ   พระพุทธศาสนาที่มีต่อภูมิปัญญาไทย
                          ๖๐๒ ๓๑๕    สานเสวนาทางศาสนา                                     ๓ (๓-๐-๖)
                                        Inter-Religious Dialogue

                          ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และวิธีการสานเสวนาทางศาสนา  รวมถึงวิธีการสร้างความสัมพันธ์และความ
                  ร่วมมือทางศาสนา เพื่อเป็นแนวทางในการสร้างความสามัคคีและสันติภาพของโลก
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103