Page 101 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 101
92 | คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๙๒ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๑.เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้มีความใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ มีวิสัยทัศน์
กว้างไกล และเป็นผู้เชี่ยวชาญวิชาการด้านปรัชญา โดยเฉพาะพุทธปรัชญาในคัมภีร์พระพุทธศาสนา
๒.เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้เป็นผู้มีความสามารถในการคิด วิเคราะห์
วิพากษ์ วิจารณ์ และสังเคราะห์องค์ความรู้ทางปรัชญาและศาสนาเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ได้
๓. เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้เป็นผู้มีความรู้ความสามารถในการศึกษา
วิจัย ประยุกต์ และพัฒนาองค์ความรู้ทางปรัชญาและศาสนา เพื่อพัฒนาสังคม
๔. เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้เป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรม และเป็น
ต้นแบบที่ดีงามให้แก่สังคม
๕. หลักสูตร
จ านวนหน่วยกิตและระยะเวลาศึกษา
จ านวนหน่วยกิต ตลอดหลักสูตร ๓๙ หน่วยกิต ศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า ๒๗ หน่วยกิต และท า
วิทยานิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๑๒ หน่วยกิต ใช้ระยะเวลาในการศึกษาตลอดหลักสูตร อย่างน้อย ๔ ภาค
การศึกษาปกติ (๒ ปี) และอย่างมากไม่เกิน ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ (ไม่เกิน ๕ ปี)
โครงสร้างหลักสูตร
หมวดวิชา จ านวนหน่วยกิต
๑. หมวดวิชาบังคับ
๑.๑ นับหน่วยกิต ๙
๑.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๘)
๒. หมวดวิชาเอก
๒.๑ นับหน่วยกิต ๑๒
๒.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๓)
๓. หมวดวิชาเลือก ๖
๔. หมวดวิชาพื้นฐาน (๒)
๕. วิทยานิพนธ์ ๑๒
รวมทั้งสิ้น ๓๙
๖. รายวิชาในหลักสูตร
(๑) หมวดวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต
ก. วิชาบังคับ แบบนับหน่วยกิต
๖๐๐ ๑๒๐ พุทธปรัชญา ๓ (๓-๐-๙)
Buddhist Philosophy
๖๐๐ ๑๒๑ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๙)
Buddhist Philosophy in Tipitaka
๖๐๓ ๒๐๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางปรัชญา ๓ (๓-๐-๙)
Research Methodology in Philosophy