Page 106 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 106
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 97
๙๖ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๙๗
๘. แนวสังเขปรายวิชา
(๑) หมวดวิชาบังคับ ๑๐๒ ๓๐๒ การใช้ภาษาบาลี ๑ (๓)(๓-๐-๖)
Usage of Pali I
ก. วิชาบังคับ แบบนับหน่วยกิต ศึกษาภาษาบาลี โดยเน้นแนวคิดทางปรัชญา เช่น แนวคิดอภิปรัชญา แนวคิดญาณวิทยา แนวคิด
๖๐๐ ๑๒๐ พุทธปรัชญา ๓ (๓-๐-๙) จริยศาสตร์ เป็นต้น ที่ปรากฏในหนังสือธรรมบท ๘ ภาค
Buddhist Philosophy ๑๐๒ ๓๐๖ การใช้ภาษาบาลี ๒ (๓)(๓-๐-๖)
ศึกษาประวัติและพัฒนาการของแนวคิดในพุทธปรัชญาส านักต่างๆ คือ เถรวาท สรวาสติวาท Usage of Pali II
เสาตรานติกะ มาธยมิก โยคาจาร สุขาวดี อวตังสกะ และพุทธตันตระ เปรียบเทียบแนวความคิดหลักของส านัก ศึกษาภาษาบาลี โดยเน้นแนวคิดทางปรัชญา เช่น แนวคิดอภิปรัชญา แนวคิดญาณวิทยา แนวคิด
ปรัชญาเหล่านี้ทั้งในแง่อภิปรัชญา ญาณวิทยา และจริยศาสตร์ จริยศาสตร์ เป็นต้น ที่ปรากฏในหนังสือมังคลัตถทีปนีและวิสุทธิมรรค
๖๐๐ ๑๒๑ พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๙)
Buddhist Philosophy in Tipitaka ๒) หมวดวิชาเอก
วิชานี้เน้นการศึกษาแนวคิดส าคัญทางปรัชญาเรื่อง อัตตา อนัตตา จิต เจตสิก รูป นิพพาน สวรรค์ ก. หมวดวิชาเอก แบบนับหน่วยกิต
นรก ความดี ความชั่ว สังคม รัฐ และการปกครอง โดยอาศัยกรอบแนวคิดหลัก คือ อภิปรัชญา ญาณวิทยา ๖๐๓ ๑๐๖ อภิปรัชญาวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๙)
จริยศาสตร์ และสุนทรียศาสตร์ ในพระไตรปิฎกของพระพุทธศาสนาเถรวาท Analytic Metaphysics
๖๐๓ ๒๐๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางปรัชญา ๓ (๓-๐-๙) ศึกษาแนวคิดทางอภิปรัชญาหรือทฤษฎีความเป็นจริงในปรัชญาตะวันตกและตะวันออก เช่น
Research Methodology in Philosophy แนวคิดของเพลโต้ อริสโตเติล วัตถุนิยม (Materialism) จิตนิยม (Idealism) ปฏิบัตินิยม (Pragmatism)
ศึกษาหลักการและวิธีการวิจัย กระบวนการและขั้นตอนของการวิจัย การรวบรวมเอกสารและ สัจนิยม (Realism) ปฏิฐานนิยมเชิงตรรกะ (Logical Positivism) อภิปรัชญาเชน โยคาจาร อภิปรัชญา
วิเคราะห์ข้อมูล ลักษณะและประเภทของงานวิจัยทางปรัชญา โดยเฉพาะด้านคุณภาพซึ่งเหมาะกับสาขาวิชา ในพุทธปรัชญา ปัญหาเรื่องเสรีภาพกับความรับผิดชอบทางศีลธรรม : ทัศนะของนิยัตินิยม (Determinism)
ปรัชญา เช่น การเลือกหัวข้อวิจัยทางปรัชญา การตั้งค าถามเพื่อการวิจัย การค้นคว้าและรวบรวมข้อมูล อนิยัตินิยม (Indeterminism) และทัศนะประนีประนอม (Compatibility) ปัญหาเรื่องเวลาว่าเวลามีจริง
การวิเคราะห์ข้อมูล และการเขียนรายงานการวิจัย หรือไม่ (Is time real?) ความเป็นจริง (Reality) ในพุทธปรัชญาส านักมัธยมิก (Madhyamika) ความเป็นจริง
(Reality) ในพุทธปรัชญาส านักโยคาจาร
ข. วิชาบังคับ แบบไม่นับหน่วยกิต ๖๐๓ ๒๐๘ จริยศาสตร์วิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๙)
๖๐๐ ๑๐๔ ภาษาอังกฤษ (๓) (๓-๐-๙) Analytic Ethics
English ศึกษาทฤษฎีจริยศาสตร์ในปรัชญาตะวันตก เช่น ประโยชน์นิยม (Utilitarianism) กรณียธรรม
ศึกษาและฝึกการใช้ภาษาอังกฤษ ให้เกิดความช านาญทั้ง ๔ ด้าน คือ ด้านการเขียน การพูด (Deontology) อัตตนิยม (Egoism) เน้นศึกษาแนวคิดเรื่องความดีสูงสุดของชีวิต เกณฑ์ตัดสินความดี (Good)
การอ่าน การฟัง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เน้นการอภิปรายในหัวข้อค าสอนของพระพุทธศาสนา เช่น ศีล ๕ ความชั่ว (Bad) ความถูก (Right) ความผิด (Wrong) นอกจากนี้ ยังศึกษาอภิจริยศาสตร์ (Metaethics) และ
พระรัตนตรัย ไตรลักษณ์ อริยสัจ ๔ อริยมรรคมีองค์ ๘ ปฏิจจสมุปบาท กรรมและการเกิดใหม่ ศึกษาทฤษฎีจริยศาสตร์ในปรัชญาตะวันออก เช่น พุทธจริยศาสตร์ จริยศาสตร์ของเชน เป็นต้น พร้อมกับ
๖๐๐ ๒๐๕ กรรมฐาน (๓) (๓-๓-๖) วิเคราะห์ประเด็นปัญหาทางจริยศาสตร์ร่วมสมัย เช่น ปัญหาการท าแท้ง การฆ่าตัวตาย การุณยฆาต การตัดสิน
Buddhist Meditation ประหารชีวิต การท าส าเนาพันธุกรรม (Cloning) และการวิจัยเซลล์ต้นแบบ (Stem Cell Research)
ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก โดยเน้นศึกษาสติ โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกับแนวคิดทางจริยศาสตร์ในพุทธปรัชญา
ปัฏฐาน ๔ รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของส านักต่างๆ ในสังคมไทย ล าดับขั้นตอนของการเจริญ ๖๐๓ ๓๐๗ ญาณวิทยาวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๙)
กรรมฐาน และผลที่เกิดจากการเจริญกรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น Analytic Epistemology
๖๐๐ ๔๐๑ สัมมนาวิทยานิพนธ์ (๓) (๓-๐-๙) ศึกษาแนวคิดเรื่องความรู้หรือทฤษฎีความรู้ของปรัชญาตะวันตกและตะวันออกส านักต่างๆ
Seminar on Thesis ในประเด็นเรื่องธรรมชาติของความรู้ ที่มาของความรู้ มาตรฐานในการตัดสินความรู้ ลักษณะของความเชื่อ
สัมมนาเชิงปฏิบัติการเกี่ยวกับเทคนิคการเขียนวิทยานิพนธ์ การวิเคราะห์และการสังเคราะห์ข้อมูล และความมั่นใจ โดยเปรียบเทียบกับญาณวิทยาในพุทธปรัชญา
การตีความในเชิงพรรณนา การอ้างอิง การเขียนบทความวิจัย รูปแบบและวิธีการน าเสนอวิทยานิพนธ์