Page 108 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 108

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   99

 ๙๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๙๙


    ๖๐๓ ๓๑๕   สุนทรียศาสตร์                  ๓ (๓-๐-๙)      ๖๐๓ ๓๑๘   ปรัชญาการศึกษา                ๓ (๓-๐-๙)
          Aesthetics                    Philosophy of Education

    ศึกษาทฤษฎีทางสุนทรียศาสตร์ตะวันตกและตะวันออก เช่น ทฤษฎีอัตวิสัย (Subjective) ปรวิสัย      ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาในฐานะเป็นรากฐานการศึกษา การจัดหลักสูตรและระบบการศึกษาที่
 (Objective) สัมพัทธวิสัย (Relativism) อารมณ์นิยม (Emotionalism) พร้อมทั้งเกณฑ์ตัดสินทางสุนทรียะ   สัมพันธ์กับอุดมคติของชีวิต การเรียนรู้ และการพัฒนามนุษย์ เช่น ปรัชญาการศึกษาส านักปฏิบัตินิยม
 ประสบการณ์สุนทรียะ โดยศึกษาแนวคิดเรื่องความงามผ่านภาพจิตรกรรม ประติมากรรม ศิลปกรรมคีตศิลป์   (Pragmatism) ส านักอัตถิภาวนิยม (Existentialism) ส านักสารัตถนิยม (Essentialism) และปรัชญา
 ทัศนศิลป์ (Visual arts) รวมทั้งวัตถุสุนทรียะ ศิลปวิจารณ์ และศิลปวิจักษ์     การศึกษาที่มีอิทธิพลต่อการศึกษาในโลกปัจจุบัน รวมทั้งปรัชญาการศึกษาของพุทธปรัชญา
                           ๖๐๓ ๓๒๑       จริยศาสตร์ธุรกิจ                                 ๓ (๓-๐-๙)
    ข.  หมวดวิชาเอก ไม่นับหน่วยกิต
    ๘๐๒ ๒๐๙   สัมมนาปัญหาปรัชญาศาสนา            (๓) (๓-๐-๙)            Business Ethics
          Seminar on Problems of Philosophy of Religions      ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับปรัชญาธุรกิจ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป้าหมายและคุณค่าสูงสุดของการ
    สัมมนาปัญหาทางปรัชญาศาสนา เช่น ปัญหาเกี่ยวกับพระเป็นเจ้า กรรมและนิพพาน ภาษาศาสนา   ท าธุรกิจ โดยเน้นจริยศาสตร์ธุรกิจในทัศนะของนักปรัชญาตะวันตก เช่น คาร์ล มาร์กซ์ อดัม สมิท  เป็นต้น

 ประสบการณ์ทางศาสนา สัญลักษณ์ทางศาสนา ความเชื่อและความจริงทางศาสนากับความรู้ทางวิทยาศาสตร์   จริยศาสตร์ธุรกิจในพุทธจริยศาสตร์ ธุรกิจทุนนิยม ธุรกิจเสรีนิยม ธุรกิจสังคมนิยม ความรับผิดชอบต่อสังคม
 ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนิน  ขององค์กร จริยศาสตร์ธุรกิจกับสิ่งแวดล้อม จริยศาสตร์กับเครือข่ายออนไลน์ จริยศาสตร์คอมพิวเตอร์
 การศึกษา รวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจ าวิชา   เทคโนโลยีและการสื่อสาร

                           ๖๐๓ ๓๒๒       ปรัชญาปรากฏการณ์วิทยาและอัตถิภาวนิยม             ๓ (๓-๐-๙)
    ๓) หมวดวิชาเลือก  นิสิตต้องศึกษาในรายวิชาเลือก ไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต             Philosophy of Phenomenology and Existentialism
    ๖๐๓ ๓๑๑   ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์               ๓ (๓-๐-๙)      ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดทางปรัชญาที่ส าคัญของนักคิดกลุ่มอัตถิภาวนิยม เช่น ปรัชญา
          Symbolic Logic   ของเซอเรน เกียร์เกการ์ด  เฟดริก นิตส์เช คาร์ล จัสเปิร์ส  มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ อัลแบรต์ กามูส์
    ศึกษาความหมาย ลักษณะ และประเภทของตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ ความหมายของญัตติ   และฌอง-ปอล ซาตร์ และศึกษาแนวความคิดส าคัญในปรากฏการณ์วิทยา เช่น การมุ่งอารมณ์

 (Proposition) ชนิดของญัตติ ค่าความจริง (Truth Value) การอ้างเหตุผล (Argument) และความสมเหตุ                 (Intentionality) สารัตถะ การลดทอน (Reducation) อัตตาเชิงอุตรวิสัย (Transcendental Ego) ในปรัชญา
 สมผล (Validity) การท าสัญลักษณ์ การใช้ตารางความจริงและวิธีพิสูจน์ ความสมเหตุสมผลชนิดต่าง ๆ เช่น                ของฟรันซ์ เบรนทาโน เอดมุนด์ ฮุสเซิร์ล มาร์ติน ไฮเดกเกอร์ แมร์โล ปองตี และฌอง-ปอล ซาตร์ ทั้งนี้ ให้
 วิธีนิรนัยธรรมชาติ (Natural Deducation) วิธีพิสูจน์โดยการสมมติเงื่อนไข (Conditional Proof) และวิธี  วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปรากฏการณ์วิทยากับอัตถิภาวนิยม เพื่อให้เห็นพัฒนาการทางด้านแนวคิดด้วย
 พิสูจน์โดยอ้อม (Indirect Proof)      ๖๐๓ ๓๒๓  ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย                      ๓ (๓-๐-๙)

   ๖๐๓ ๓๑๔   ปรัชญาการเมือง                ๓ (๓-๐-๙)            Contemporary Indian Philosophy
            Political Philosophy      ศึกษาปรัชญาอินเดียร่วมสมัย เช่น แนวคิดว่าด้วยความจริง ธรรมชาติของมนุษย์ วิถีแห่งความรู้
    ศึกษาแนวคิดทางการเมือง เช่น แนวคิดเรื่องรัฐ แนวคิดเรื่องรัฐาธิปัตย์ แนวคิดเรื่องเสรีภาพ   ทฤษฎีว่าด้วยมายา ศาสนากับศีลธรรม การเกิดใหม่และธรรมชาติของกรรม ธรรมชาติของอันติมสัจจ์ ชะตา

 แนวคิดเรื่องการออกกฎหมาย แนวคิดเรื่องประชาธิปไตย แนวคิดเรื่องธรรมาธิปไตย แนวคิดเรื่องสังคมนิยม   กรรมของมนุษย์ โดยเลือกนักปรัชญาผู้มีความโดดเด่น เช่น สวามี วิเวกานันทะ รพินทรนาถ  ฐากอร์  มหาตมะ
 แนวคิดเรื่องเผด็จการนิยม แนวคิดเรื่องธัมมิกสังคมนิยม โดยเลือกแนวคิดส าคัญของนักปรัชญา เช่น ขงจื้อ   คานธี ศรีอรพินโท กฤษณะจันทระ  ภัททาจารยะ ราธะกฤษณัน  โมฮัมมัด  อิคบัล กฤษณะมูรติ
 พลาโต อาริสโตเติล โธมัส ฮอบส์ จอห์น ล็อค ฌอง-ฌักส์ รุสโซ  มาเคียเวลลี คาร์ล มาร์กซ์  มหาตมะ คานธี      ๖๐๓ ๓๒๔    ปรัชญาจีน                  ๓ (๓-๐-๙)
 ดร.อัมเบกการ์ พุทธทาสภิกขุ              Chinese Philosophy
    ๖๐๓ ๓๑๗   ปรัชญาวิทยาศาสตร์               ๓ (๓-๐-๙)      ศึกษาแนวคิดมนุษยนิยม  ธรรมชาติของมนุษย์ ทางสายกลาง ธรรมชาติและความจริงของเต๋า

          Philosophy of Science   แนวคิดเรื่องหยิน-หยาง ความรักสากล สวรรค์ สวัสดิการสังคม ส านักกฎหมายนิยม (Legalism) แนวคิดเรื่อง
    ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาที่เป็นรากฐานของวิทยาศาสตร์  โดยเฉพาะปรัชญาส านักปฏิฐานนิยมเชิง  การศึกษา แนวคิดว่าด้วยความดี ความชั่ว โดยเน้นศึกษานักปรัชญาที่มีอิทธิพลต่อแนวคิดและการพัฒนาทาง
 ตรรกะ (Logical Positivism) ของกลุ่มเวียนนา (Vienna Circle) ส านักประสบการณ์นิยม (Empiricism) และ  สังคม เช่น ขงจื่อ  เม้งจื่อ เหล่าจื่อ หานเฟยจื่อ ซุนจื่อ

 ปรัชญาฟิสิกส์ใหม่ เช่น ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป (General Theory of Relativity)
 และทฤษฎีสัมพัทธภาพ (Theory of Relativity) ของอัลเบิร์ต ไอส์ไตน์
   103   104   105   106   107   108   109   110   111   112   113