Page 136 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 136

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   127

 ๑๒๖       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๑๒๗


 ภาคการศึกษาที่ ๒        ๖๒๖ ๑๐๒        พุทธวิธีสื่อสารทางการเมือง                                ๓ (๓-๐-๖)

 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต                       Buddhist Political Communication
    วิชาเอก               ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสื่อสารทางการเมือง แนวคิดและทฤษฎีการสื่อสารทางการเมือง การ
 ๖๒๖  ๒๐๑   ปรัชญาการเมืองการปกครอง   ๓   สื่อสารทางการเมืองตามแนวพระพุทธศาสนา อันประกอบไปด้วยวิธีการสอนของพระพุทธเจ้าที่มีผู้ปกครอง
 ๖๒๖ ๒๐๒   วิธีวิทยาทางรัฐศาสตร์   ๓   หลักพุทธธรรมที่เกี่ยวเนื่องด้วยการสื่อสารทางการเมือง พุทธสาวกที่ใช้รูปแบบพุทธวิธีเพื่อสื่อสารทางการเมือง
    วิชาเลือก      กรณีศึกษาพระสงฆ์ไทยและพระสงฆ์ชาวต่างประเทศที่มีการสื่อสารทางการเมืองตามรูปแบบของ

 ๖๒๖ ๒๐๕   การเลือกตั้ง พรรคการเมือง และกลุ่มผลประโยชน์   ๓   พระพุทธศาสนา และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับพุทธวิธีสื่อสารทางการเมือง
    รวม   ๙              ๖๐๐ ๒๐๕        กรรมฐาน                                                   ๓ (๓-๐-๖)
                                        Meditation
 ภาคการศึกษาที่ ๓
                          ศึกษาและปฏิบัติหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎกอรรถกถา
 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต   ฎีกา อนุฎีกา และปกรณ์วิเสส รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของส านักต่างๆ ในสังคมไทย โดยเน้นศึกษา

    วิชาบังคับ      อารมณ์ของสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ล าดับขั้นตอนของการเจริญกรรมฐานและผลที่เกิดจากการ
 ๖๐๐ ๒๐๕   กรรมฐาน   ๓   เจริญกรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น
    วิชาเอก
 ๖๒๖ ๒๐๓   การเมืองเปรียบเทียบ   ๓   หมวดวิชาเอก                                           จ านวน ๑๒ หน่วยกิต
    วิชาเลือก            ๖๒๖ ๑๐๓        หลักรัฐศาสตร์                                             ๓ (๓-๐-๖)
 ๖๒๖ ๒๐๙   สัมมนาเฉพาะเรื่องงานวิจัยทางรัฐศาสตร์   ๓                    Principles of Political Science
    รวม   ๙
                          ศึกษาพัฒนาการ ขอบเขต และทิศทางของการศึกษาทางรัฐศาสตร์ การอธิบายกับการศึกษาวิเคราะห์
 ภาคการศึกษาที่ ๔   ปรากฏการณ์ตามทฤษฎีต่างๆ ในทางรัฐศาสตร์ หลักการเกี่ยวกับการใช้อ านาจตามรูปแบบประชาธิปไตย
 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต   รูปแบบอ านาจนิยมและรูปแบบเผด็จการ ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับบุคคล ความสัมพันธ์
    การศึกษาอิสระ(สารนิพนธ์)      ระหว่างประเทศ ระหว่างอ านาจรัฐกับกฎหมายสิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ความเท่าเทียมกันทางกฎหมาย
 ๖๒๖ ๓๐๐   สารนิพนธ์   ๖   และสังคม ความยุติธรรม แนวการศึกษาวิเคราะห์หลักรัฐศาสตร์
    วิชาเลือก            ๖๒๖ ๒๐๑        ปรัชญาการเมืองการปกครอง                                   ๓ (๓-๐-๖)
 ๖๒๖ ๒๐๔   พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย   ๓                    Philosophy of Politics and Government
 ๖๒๖ ๒๑๑   สัมมนานโยบายสาธารณะของไทย   ๓
    รวม   ๑๒              ศึกษาปรัชญาการเมืองการปกครองในส านักต่างๆ  เช่น เสรีนิยม สังคมนิยมหรือคอมมิวนิสต์

                  สมัยใหม่นิยมและหลังสมัยใหม่นิยม  โครงสร้างนิยมและหลังโครงสร้างนิยม ศึกษาแนวคิดส าคัญทางรัฐศาสตร์
                  และปรากฏการณ์ทางการเมืองการปกครองร่วมสมัย ได้แก่ แนวคิดเรื่องรัฐ  ชาติ ความเป็นพลเมือง อ านาจ
 ๘.  ค าอธิบายรายวิชา   อ านาจอธิปไตย ประชาธิปไตย ความยุติธรรม สิทธิมนุษยชน เสรีภาพ ความเสมอภาค ความเป็นตัวเเทนสตรี

          หมวดวิชาบังคับ  จ านวน ๙ หน่วยกิต   นิยม  และแนวคิดเรื่องการปฏิวัติ
 ๖๒๖ ๑๐๑    หลักรัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก               ๓ (๓-๐-๖)   ๖๒๖ ๒๐๒    วิธีวิทยาทางรัฐศาสตร์                 ๓ (๓-๐-๖)
                     Principles of Political Science in Tipitaka                     Research Methodology of Political Science
  ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักรัฐศาสตร์และทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ หลักรัฐศาสตร์ที่ปรากฏใน   ศึกษากระบวนการวิจัยทางรัฐศาสตร์ทั้งเชิงคุณภาพ เชิงปริมาณและแบบผสานวิธี ศึกษาขั้นตอนต่างๆ

 พระไตรปิฎก โดยเน้นศึกษาเกี่ยวกับพุทธวิธีปกครอง หลักพุทธธรรมที่เนื่องด้วยการเมืองการปกครอง   ในกระบวนการวิจัย ซึ่งครอบคลุมถึงการก าหนดประเด็นปัญหา การทบทวนวรรณกรรมเพื่อสร้างกรอบแนวคิด
 โดยเฉพาะเรื่องธรรมาธิปไตย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาค ความรับผิดชอบ ความยุติธรรม ความเป็นพลเมือง  ของการวิจัย สมมติฐานและการทดสอบสมมติฐาน การออกแบบการวิจัย การก าหนดประชากรและวิธีการสุ่ม
 ของรัฐ ธรรมาภิบาล การมีส่วนร่วม หลักนิติธรรม ทั้งนี้ ให้ศึกษาจากพระสูตรเป็นส าคัญ   ตัวอย่าง การสร้างมาตรวัดส าหรับเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล การประมวลผลและการ

                  วิเคราะห์เพื่อแปลความหมายข้อมูลทั้งในเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ รวมทั้งการเขียนรายงานการวิจัย ทั้งนี้
                  นิสิตทุกรูปหรือคนต้องเสนอโครงร่างการวิจัยคนละหนึ่งเรื่อง
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141