Page 138 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 138

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   129

 ๑๒๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๑๒๙


 ๖๒๖ ๒๐๓    การเมืองเปรียบเทียบ                 ๓ (๓-๐-๖)   ๖๒๖ ๒๐๗    กฎหมายมหาชนส าหรับรัฐศาสตร์             ๓ (๓-๐-๖)
                  Comparative Politics                     Public Laws for Political Science

  ศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการเมืองเปรียบเทียบ ขอบข่ายและความเป็นมาของการศึกษาการเมือง   ศึกษาความหมายและการแบ่งประเภทกฎหมายมหาชน วิวัฒนาการของนิติปรัชญา แนวความคิดและ
 เปรียบเทียบทฤษฎี และแนวทางที่ใช้ในการเปรียบเทียบ อาทิ แนวทางโครงสร้างหน้าที่แนวทางวิเคราะห์  ทฤษฎีของกฎหมายมหาชนในยุคต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง กฎหมายมหาชนในยุคปัจจุบัน สถานะทางกฎหมาย
 ระบบ แนวทางวัฒนธรรมการเมือง แนวทางการพัฒนาทางการเมือง แนวทางกลุ่ม แนวทางชนชั้นน า                  ของรัฐ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐกับกฎหมาย ที่มาของกฎหมายมหาชน แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการจัดท าบริการ
 การเปรียบเทียบระบบการเมือง ความชอบธรรมและความมีประสิทธิผล การประเมินระบบ ตลอดจนปัญหา  สาธารณะ แนวคิดเกี่ยวกับขอบเขตและการควบคุมการใช้อ านาจรัฐ การใช้อ านาจดุลพินิจและการใช้อ านาจใน
 อุปสรรคในการศึกษาการเมืองเปรียบเทียบ และแนวโน้มทางการเมืองเปรียบเทียบ   สถานการณ์ไม่ปกติ ความรับผิดของรัฐและความรับผิดของฝ่ายปกครอง นิติวิธีในกฎหมายมหาชน รวมทั้ง

                  ศึกษาวิวัฒนาการสภาพปัญหา และกระบวนการด าเนินงานของกฎหมายมหาชนในประเทศไทย
 หมวดวิชาเลือก                             จ านวน ๑๒ หน่วยกิต   ๖๒๖ ๒๐๘    ยุทธศาสตร์ชาติตามนโยบายประเทศไทย ๔.๐         ๓ (๓-๐-๖)
 ๖๒๖ ๒๐๔    พัฒนาการการเมืองการปกครองของไทย           ๓ (๓-๐-๖)                     National Strategy of Thailand 4.0

                  Development of Thai Politics and Government     ศึกษาการวางแผนและก าหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะยาว  การพัฒนาชาติตามหลักปรัชญา
  การศึกษาภูมิหลังและพัฒนาการทางการเมืองการปกครองของประเทศไทยในแง่มุมต่างๆ ในสมัยกรุง  ของเศรษฐกิจพอเพียง  การขับเคลื่อนการพัฒนาเพื่อการสร้างและรักษาไวซึ่งผลประโยชนแห่งชาติและบรรลุ
 สุโขทัย กรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรีและกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้น  จนถึงยุคหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็น  วิสัยทัศน์ กรอบยุทธศาสตร์ ได้แก่  ยุทธศาสตร์ด้านความมั่นคง  ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการ
 ระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา ลักษณะของโครงสร้างทางอ านาจ ทั้งที่เป็นมาแต่เดิมและที่ก าลัง  แขงขันการพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน  ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียม

 เปลี่ยนแปลงไป การต่อสู้ทางอ านาจในระหว่างชนชั้นน าและจุดเปลี่ยนทางการเมือง ตลอดจนปัญหาทางการ  กันทางสังคม  ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม  และยุทธศาสตร์
 เมืองที่ได้เกิดขึ้นตามสภาพการณ์ของการเปลี่ยนแปลงทางสังคม และตามกระบวนการของการพัฒนาประเทศ  ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
 ให้ทันสมัย และโดยผลของกระบวนการประชาธิปไตยในไทย สภาพการณ์ของปัญหาที่เป็นมาและด ารงอยู่ใน  ๖๒๖ ๒๐๙    สัมมนาเฉพาะเรื่องงานวิจัยทางรัฐศาสตร์          ๓ (๓-๐-๖)
 ปัจจุบันและแนวทางการแก้ไขปัญหาการเมืองการปกครองของไทยในปัจจุบัน                    Selected Seminar on Political Science Research Works

 ๖๒๖ ๒๐๕    การเลือกตั้ง พรรคการเมืองและกลุ่มผลประโยชน์        ๓ (๓-๐-๖)    สัมมนาเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยและเทคนิคการวิจัยทางสังคมศาสตร์ เพื่อสามารถน าไปประยุกต์ใช้ใน
                  Election, Political Parties and Interest Groups   การศึกษาและพัฒนาองค์ความรู้ทางรัฐศาสตร์และประเด็นอื่นๆ ตามที่อาจารย์รหัสวิชามอบหมาย ทั้งนี้ให้น า
  ศึกษาระบบและวิเคราะห์รูปแบบการเลือกตั้ง อ านาจและหน้าที่ของคณะกรรมการเลือกตั้ง   งานวิจัยทางรัฐศาสตร์ที่มีความหลากหลายของหัวข้อเรื่องมาสัมมนาเพื่อให้นิสิตได้เกิดความรู้และพัฒนาเป็น
 พฤติกรรมการเมืองในมิติต่างๆ เน้นพฤติกรรมการเลือกตั้งในระดับชาติ ท้องถิ่น และในเชิงเปรียบเทียบ   งานวิจัยของตนเอง

 กระบวนการเลือกตั้ง ระบบเลือกตั้ง และความสัมพันธ์ระหว่างระบบเลือกตั้ง ผู้ใช้สิทธิเลือกตั้งและพรรค  ๖๒๖ ๒๑๐    สัมมนาการปกครองท้องถิ่นไทย              ๓ (๓-๐-๖)
 การเมือง ในฐานะสถาบันทางการเมือง บทบาท หน้าที่และโครงสร้างของพรรคการเมืองในปัจจุบัน และศึกษา                   Seminar on Thai Local Government
 พัฒนาการของกลุ่มผลประโยชน์ อิทธิพลของกลุ่มผลประโยชน์ที่มีผลต่อการด าเนินงานและการก าหนด   สัมมนาประเด็นและถกแถลงประเด็นส าคัญที่เกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นไทย เริ่มตั้งแต่

 นโยบายของรัฐ โดยรวมถึงศึกษาแนวทางการแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งตามพระราชบัญญัติการเลือกตั้งและ  วิวัฒนาการด้านการปกครอง สภาพปัญหาและลักษณะส าคัญของการปกครองท้องถิ่นไทย องค์ความรู้ใน
 พระราชบัญญัติพรรคการเมืองฉบับปัจจุบัน   มุมมองทางวิชาการทางรัฐศาสตร์ทั้งไทยและต่างประเทศที่มีต่อการปกครองท้องถิ่นไทยเพื่ออธิบายสภาพ
 ๖๒๖ ๒๐๖    ภาษาอังกฤษส าหรับรัฐศาสตร์              ๓ (๓-๐-๖)   ปัญหา วิเคราะห์ สังเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์ ที่จะท าให้เข้าใจเรื่องการปกครองท้องถิ่นไทยและสภาพแวดล้อม
                  English for Political Science   อย่างเป็นระบบ เพื่อให้ครอบคลุมทุกระดับของปัญหาตั้งแต่ ระดับโครงสร้าง นโยบาย อุดมการณ์ วัฒนธรรม
  ศึกษาพัฒนาทักษะและความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ การฟัง พูด อ่าน และเขียน จากต ารา   สถาบัน องค์กร และผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการปกครองท้องถิ่นของไทย ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

 หนังสือ เอกสารวิชาการภาษาอังกฤษที่เป็นองค์ความรู้ต่าง ๆ ในสาขาวิชารัฐศาสตร์ โดยมุ่งเน้นการค้นคว้า  ๖๒๖ ๒๑๑    สัมมนานโยบายสาธารณะของไทย            ๓ (๓-๐-๖)
 เอกสารทางวิชาการ งานวิจัย วารสาร หนังสือพิมพ์ สื่อสมัยใหม่ต่างๆ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ สามารถแปล                   Seminar on Thai Public Policy
 ความจับประเด็นส าคัญ และสรุปเรื่องราวทางรัฐศาสตร์ได้อย่างถูกต้อง    สัมมนาประเด็นและถกแถลงประเด็นส าคัญที่เกี่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะของไทย ศึกษาวิเคราะห์

                  ผลลัพธ์และผลกระทบที่เกี่ยวกับนโยบายสาธารณะอย่างเป็นระบบ ทั้งเรื่องการก่อตั้งนโยบาย การก าหนด
                  นโยบาย การน านโยบายไปปฏิบัติ การประเมินผล และการสานต่อหรือยุตินโยบาย รวมถึงความเข้าใจอิทธิพล
                  ด้านสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองที่มีต่อนโยบายสาธารณะ พร้อมทั้งน าเรื่องนโยบายสาธารณะของรัฐที่มี
                  ผลกระทบต่อสังคมหรือชุมชนมาถกแถลงเพื่อให้องค์ความรู้ทางวิชาการ
   133   134   135   136   137   138   139   140   141   142   143