Page 20 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 20

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   11

 ๑๐       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๑๑


 ผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย   แนะน ามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น

                         มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น (Mahachulalongkorn rajavidyalay
                  University, Khon Kaen Campus) ตั้งอยู่เลขที่ ๓๐ หมู่ ๑ บ้านโคกสี ต าบลโคกสี อ าเภอเมือง จังหวัด
                  ขอนแก่น มีพัฒนาการมาโดยล าดับในช่วง ๓ ทศวรรษที่ผ่านมา ดังนี้

                         ทศวรรษที่ ๑ : ทศวรรษแห่งการก่อตั้ง (พ.ศ. ๒๕๒๘ - ๒๕๓๘)
                         ทศวรรษที่ ๑ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๘ คณะสงฆ์จังหวัดขอนแก่น ได้ด าริร่วมกันในการจัดตั้งมหาจุฬาลงกรณ
 พระราชปริยัติกวี, ศ.ดร.    ราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ วิทยาเขตขอนแก่น มีเหตุผลสืบเนื่องมาจากการที่พระบาทสมเด็จ
                  พระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงตราพระราชบัญญัติก าหนดวิทยฐานะผู้ส าเร็จวิชาการพระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗
 อธิการบดี
                  (ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา ฉบับพิเศษ หน้าที่ ๔ เล่มที่ ๑๔๐) ได้ก าหนดให้ผู้ส าเร็จการศึกษาตาม
                  หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรบัณฑิตของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ มีความรู้
                  ความสามารถและประสบการณ์เทียบขั้นบัณฑิตด้านสังคมศาสตร์ ของมหาวิทยาลัยฝ่ายอาณาจักร สมควร
                  ก าหนดวิทยฐานะผู้ส าเร็จการศึกษาจากหลักสูตรนี้ให้สูงเท่ากับปริญญาตรีของมหาวิทยาลัยฝ่ายอาณาจักร
                         ในการก่อตั้งวิทยาเขตขอนแก่น ได้อาศัยระเบียบมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวิทยาเขต และ

                  ตามค าสั่งเจ้าส านักเรียนวิเวกธรรมประสิทธิ์วิทยา พระราชสารเวที (เหล่ว สุมโน) เจ้าอาวาสวัดธาตุ
                  (พระอารามหลวง) และรองเจ้าคณะภาค ๙ ในขณะนั้น มีด าริให้จัดตั้งมหาวิทยาลัยเพื่อเป็นสถานศึกษาใน
                  ระดับอุดมศึกษาส าหรับพระภิกษุสามเณรในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค ๙ ดังค าปรารภในการจัดตั้งวิทยาเขต
                  ขอนแก่น ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร ป.ธ.๘ อัครมหาบัณฑิต) นายกสภามหา
                  จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และพระเถรานุเถระทุกระดับในเขตปกครองคณะสงฆ์จังหวัดขอนแก่น ดังหนังสือขอ
                  เปิดมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น อนุมัติให้จัดตั้งวิทยาเขตขอนแก่น เมื่อวันที่ ๓ ตุลาคม
                  พ.ศ. ๒๕๒๘ ตามหนังสือ ค าสั่งมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ ๘/๒๕๒๙ ลงวันที่ ๑๒
                  ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๘ ลงนามโดยพระมหานคร เขมปาลี เลขาธิการมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                  มีก าหนดการพิธีเปิดป้ายวิทยาเขตขอนแก่น ใช้ชื่อเป็นทางการว่า "มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในพระบรม
                  ราชูปถัมภ์ วิทยาเขตขอนแก่น" ได้มีเจ้าคณะพระสังฆาธิการที่บริจาคอุปถัมภ์การก่อตั้งและบ ารุงวิทยาเขต
                  ขอนแก่น มีผู้บริจาควัสดุครุภัณฑ์ประจ าวิทยาเขตขอนแก่น บริจาคซื้อเครื่องเสียงและจัดพิมพ์หนังสืออนุสรณ์
                  พิธีเปิดป้ายวิทยาเขตขอนแก่น ท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภมหาเถร) เมตตามาเป็น
                  ประธานเปิดป้ายมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น เมื่อวันที่ ๒๕ มิถุนายน พ.ศ.
                  ๒๕๓๐ ณ วัดธาตุ พระอารามหลวง
                         มหาวิทยาลัยได้มีการแต่งตั้งกรรมการสภาวิทยาเขตขอนแก่น แต่งตั้งพระราชสารเวที เป็นผู้รักษาการ
                  ต าแหน่งรองอธิการบดี และพระมหาโสวิทย์ โกวิโท เป็นผู้รักษาการต าแหน่งคณบดีคณะพุทธศาสตร์ พร้อมทั้ง
                  คณะผู้บริหาร อาจารย์ประจ า และเจ้าหน้าที่ อาจารย์บรรยายพิเศษ ได้ด าเนินการเปิดภาคการศึกษาครั้งแรก
                  วันที่ ๑๖ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ในคณะพุทธศาสตร์ สาขาวิชาศาสนา) มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๒๑ รูป
                  เป็นปฐมฤกษ์ และนิสิตชั้นปีที่ ๑, ๒ ปีการศึกษา ๒๕๓๐) เข้ามาศึกษาเป็นนิสิตตามล าดับจนถึงปัจจุบัน

                         ทศวรรษที่ ๒ : ทศวรรษของการขยายตัวต่อเนื่อง (พ.ศ. ๒๕๓๙ - ๒๕๔๙)

                         พ.ศ. ๒๕๔๐ แม้มหาวิทยาลัยจะมีพระราชบัญญัติก าหนดวิทยฐานะของผู้ส าเร็จวิชาการ
                  พระพุทธศาสนา พ.ศ. ๒๕๒๗ แล้วก็ตาม แต่ก็ยังไม่มีการรับรองสถานะภาพ ความเป็นนิติบุคคลของ
                  มหาวิทยาลัยเหมือนมหาวิทยาลัยทั่วไป จึงท าให้ไม่สามารถขยายการจัดการศึกษาในระดับปริญญาโท และ
                  ปริญญาเอก ตามวัตถุประสงค์และนโยบายของมหาวิทยาลัยได้ จึงมีความพยายามในการผลักดันให้มีการ
                  ด าเนินการตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยเป็นการเฉพาะ โดยใช้เวลาในการด าเนินการเป็น
                                                                     เวลานานถึง ๕๐ ปี จนกระทั่ง พ.ศ. ๒๕๔๐ รัฐบาล ฯพณฯ พล.อ.ชวลิต ยงใจยุทธ ได้เสนอให้รัฐสภาตรา
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25