Page 22 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 22

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   13

 ๑๒       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๑๓


 พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงลงพระ     พุทธศักราช ๒๕๕๑ จัดตั้งศูนย์อ านวยการโครงการพระสอนศีลธรรมในโรงเรียน เพื่ออ านวยการใน
 ปรมาภิไธย เมื่อวันที่ ๒๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๔๐ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๑ ตุลาคม พ.ศ.   การจัดส่งรวมถึงดูแลพระภิกษุสามเณรที่ปฏิบัติหน้าที่พระสอนศีลธรรมในโรงเรียนต่างๆ ในจังหวัดขอนแก่น
 ๒๕๔๐ ส่งผลให้มหาวิทยาลัยมีพระราชบัญญัติรับรองสถานภาพเป็นมหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ และเป็นนิติ     พุทธศักราช ๒๕๕๒ ได้รับอนุมัติให้เปิดการจัดการเรียนการสอนระดับปริญญาเอก หลักสูตรปริญญา
 บุคคลที่ไม่เป็นส่วนราชการและไม่เป็นรัฐวิสาหกิจ เน้นจัดการศึกษาวิชาการด้านพระพุทธศาสนา   พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา
    มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ในช่วงทศวรรษที่ ๒ ได้มีการขยายตัว     พุทธศักราช ๒๕๕๓ เพื่อประโยชน์ในการท างานเผยแผ่พระพุทธศาสนา จึงได้จัดตั้ง ๒ หน่วยงาน คือ
 ทั้งในด้านหลักสูตรการเรียนการสอนและด้านการบริหารจัดการ การขยายเขตการศึกษาทั้งในระดับวิทยาลัย  ศูนย์ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม และความมั่นคงแห่งสถาบันชาติ พระศาสนา พระมหากษัตริย์ และ
 สงฆ์และระดับห้องเรียน ดังนี้   ศูนย์บริการวิชาการด้านพระพุทธศาสนาและอาเซียน
    พุทธศักราช ๒๕๓๙ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับวิทยาลัยสงฆ์ที่วัดศรีวิชัยวนาราม                 พุทธศักราช ๒๕๕๔ จัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่อ าเภอภูเขียว จังหวัดชัยภูมิ
 ต าบลกุดป่อง อ าเภอเมือง จังหวัดเลย เปิดด าเนินการสอนสาขาวิชาหลักสูตรและการสอนภาษาไทย มีนิสิตรุ่น  ให้เป็นสถานีวิทยุคู่ขนานกับสถานีวิทยุหลักของวิทยาเขตขอนแก่น ส่งผลให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนามีความ
 แรกจ านวน ๓๕ รูป   เป็นเครือข่ายมากขึ้น ขณะเดียวกันก็ท าให้การเผยแผ่พระพุทธศาสนามีประสิทธิภาพมากขึ้น
    พุทธศักราช ๒๕๔๒ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับห้องเรียนโดยในการประชุมสภา     พุทธศักราช ๒๕๕๕ ได้จัดตั้งหน่วยงานที่มีความส าคัญต่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ได้แก่ ศูนย์
 มหาวิทยาลัย ครั้งที่ ๖/๒๕๔๒ วันที่ ๒๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒ จึงได้ด าเนินการก่อตั้งขึ้นที่วัดบูรพาภิราม                 ภาษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมอาเซียน ให้เป็นศูนย์ในการถ่ายถอดภาษา ภูมิปัญญา รวมถึงวัฒนธรรมของ
 (พระอารามหลวง) ถนนผดุงพานิช ต าบลในเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด เปิดด าเนินการสาขาวิชาศาสนา  ท้องถิ่นในอาเซียนไว้ด้วย ขณะเดียวกัน ก็จะเป็นศูนย์กลางในการขับเคลื่อนประเด็นวัฒนธรรมท้องถิ่นใน
 และปรัชญา มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๒๙ รูป ปัจจุบันได้ยกฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยสงฆ์ร้อยเอ็ด เมื่อวันที่ ๒๖   อาเซียน ที่ต้องการชูประเด็นส าคัญด้านวัฒนธรรมทางพระพุทธศาสนาในอาเซียน เพื่อขับเคลื่อนสื่อวัฒนธรรม
 พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๘   ทางพระพุทธศาสนาในภูมิภาคอินโดจีนต่อไป
    พุทธศักราช ๒๕๔๙ ได้รับอนุมัติการขยายเขตการศึกษาระดับหน่วยวิทยบริการมหาสารคาม ตั้งอยู่ที่     วิทยาเขตขอนแก่น เป็นเขตการศึกษาของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ซึ่งเป็น
 เลขที่ ๕๗๗ วัดอภิสิทธิ์ ถนนนครสวรรค์ ต าบลตลาด อ าเภอเมืองมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม                       มหาวิทยาลัยในก ากับของรัฐ ตามพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐
 เปิดด าเนินการจัดการเรียนการสอนสาขาวิชาศาสนาและปรัชญา มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๔๑ รูป ปัจจุบันได้ยก  ในราชกิจจานุเบกษา เล่ม ๑๑๔ ตอนที่   ๕๑ ก ลงวันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๔๐ มีฐานะเป็นนิติ
 ฐานะขึ้นเป็นวิทยาลัยสงฆ์มหาสารคาม เมื่อวันที่ ๒๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๑   บุคคล

    ขณะเดียวกัน ได้ขยายเขตการศึกษาระดับศูนย์การศึกษาตั้งอยู่ที่วัดกลาง (พระอารามหลวง) ต าบล
 ในเมือง อ าเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จัดการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรบริหารกิจการคณะสงฆ์ (ป.บส.)
 มีนิสิตรุ่นแรก จ านวน ๕๐ รูป นอกจากนี้ เมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้รับอนุมัติให้เปิดด าเนินการจัดการเรียนการสอน
 ระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตขอนแก่น ได้เปิดการเรียนการสอนสาขาวิชาพระพุทธศาสนา หลักสูตรปริญญา
 พุทธศาสตรมหาบัณฑิต เป็นรุ่นแรก

    ทศวรรษที่ ๓ : ก้าวย่างสู่การเป็นวิทยาเขตที่เป็นศูนย์กลางการเผยแผ่พระพุทธศาสนา
 ภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน (พ.ศ. ๒๕๕๐ – ปัจจุบัน)
    ในทศวรรษที่ ๓ เป็นทศวรรษก้าวย่างเป็นวิทยาเขตในการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในภาค
 ตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน ในด้านต่าง ๆ ดังนี้

    พุทธศักราช ๒๕๕๐ เนื่องจากมีนิสิตเพิ่มจ านวนมากขึ้น ท าให้อาคารเรียนที่มีอยู่เดิมที่วัดธาตุ
 (พระอารามหลวง) ไม่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน จึงย้ายที่ท าการไปใช้ที่ดินโคกสร้างหล่มวัดป่าศรี  พระธรรมวิสุทธาจารย์
 เจริญธรรม เป็นที่ตั้งวิทยาเขตแห่งใหม่ ประกอบด้วยอาคารเรียน อาคารหอสมุดสารสนเทศ อาคารสถานี
 วิทยุกระจายเสียง และอาคารหอประชุม เมื่อวันที่ ๑๗ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๐ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ   อดีตรองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น
 สยามบรมราชกุมารี ทรงเปิดป้ายมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น   ผู้บุกเบิกการศึกษาพระปริยัติธรรมและอุดมศึกษา
    ด้านจัดการเรียนการสอน ได้ขออนุมัติหลักสูตรเพิ่มเติมอีกหลายสาขาวิชา และก าหนดวิสัยทัศน์ให้              ล าดับรองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น ให้เป็นมหาวิทยาลัยแห่ง “การจัดการศึกษา     รูปที่ ๑ พระธรรมวิสุทธาจารย์ (เหล่ว สุมโน ป.ธ.๕, พธ.ด. กิตติมศักดิ์) พ.ศ. ๒๕๒๙ - ๒๕๔๑
 และเผยแผ่พระพุทธศาสนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภูมิภาคอินโดจีน (Education Arrangement and      รูปที่ ๒ พระครูปริยัติสารเมธี (อาณัติ กลฺยาณเมธี ป.ธ.๔ พธ.บ. M.A.) พ.ศ. ๒๕๔๑ - ๒๕๔๒
 Buddhism Propagation in the Northeast of Thailand and indo-China Region)” บนพื้นฐานของ     รูปที่ ๓ พระราชประสิทธิคุณ (สุนันท์ สุภาจาโร ป.ธ.๗, พธ.บ., พธ.ด.กิตติมศักดิ์) พ.ศ. ๒๕๔๒ –
 ความรับผิดชอบในการสร้างองค์ความรู้ใหม่ด้านพระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจ   ๒๕๔๕
 และสังคม นอกจากนี้ ยังมีการจัดตั้งสถานีวิทยุเพื่อการเผยแผ่พระพุทธศาสนา มีบทบาทส าคัญอย่างยิ่งในการ     รูปที่ ๔ พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร. (สุกันยา อรุโณ/ฮาดภักดี พธ.บ., ศษ.บ., ศศ.ม., Ph.D.)
 เผยแผ่พระพุทธศาสนาในพื้นที่รวมถึงการประชาสัมพันธ์กิจกรรมต่างๆ ของมหาวิทยาลัย   พ.ศ. ๒๕๔๕ – ปัจจุบัน
   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27