Page 26 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 26

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   17

 ๑๖       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๑๗


 การเปิดหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น        ๘. รศ.เสฐียรพงษ์  วรรณปก         กรรมการ

                                 ๙. ดร.ชาย  โพธิสิตา                        กรรมการ
 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย       คณะกรรมการชุดนี้ได้ประชุมติดต่อกันเป็นเวลา ๖ เดือน  ยกร่างหลักสูตรระดับปริญญาโท


                  ขึ้นอีก ๔ สาขา คือ สาขาวิชาบาลี สาขาวิชาพระพุทธศาสนา สาขาวิชาปรัชญาและสาขาวิชาศาสนาขึ้น เพื่อให้
    พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้า
 เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๕ ได้ทรงสถาปนามหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้น โดยให้  สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติหลักสูตรทั้ง ๔ สาขา  ในคราวประชุมครั้งที่ ๒/๒๕๓๐ เมื่อวันที่ ๗ พฤษภาคม

 ย้ายการสอนพระปริยัติธรรม จากศาลาบอกพระปริยัติธรรมภายในวัดพระศรี  พ.ศ. ๒๕๓๐
 รัตนศาสดาราม ไปตั้งที่วัดมหาธาตุ เพื่อเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนของพระสงฆ์ฝ่าย     ต่อมา ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
 มหานิกายและคฤหัสถ์ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๓๐ และโปรดให้เรียกว่า มหาธาตุวิทยาลัย   ได้พิจารณาเห็นสมควรขยายการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จึงได้บรรจุโครงการเปิดการเรียนการสอนระดับ
 เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชด าเนินไปทรงวางศิลา  บัณฑิตศึกษาไว้ในแผนพัฒนามหาวิทยาลัย  ระยะที่ ๘ (พ.ศ. ๒๕๔๐ - ๒๕๔๔) ได้แต่งตั้งคณะกรรมการ
 ฤกษ์ เมื่อวันที่ ๑๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๓๙ และได้พระราชทานเปลี่ยนนามมหาธาตุ  ด าเนินงานการขยายห้องเรียนบัณฑิตศึกษา ตามค าสั่งมหาวิทยาลัย ที่ ๓๖/๒๕๔๓ เพื่อด าเนินการยกร่าง

 วิทยาลัยเป็น มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยเพื่อเป็นการเฉลิมพระเกียรติยศของพระองค์ หลังจากนั้น                   โครงการขอเปิดหลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาพระพุทธศาสนา ประกอบด้วย
 เป็นระยะเวลา ๕๑ ปี คณะสงฆ์ฝ่ายมหานิกาย จ านวน ๕๗ รูป มีพระพิมลธรรม (ช้อย ฐานทตฺตเถร)                         ๑. รองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น      ประธานกรรมการ
 เป็นประธานฝ่ายสงฆ์ ได้มีมติให้ด าเนินการจัดการศึกษาในรูปแบบมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ ๑๘ กรกฎาคม พ.ศ.      ๒. ผู้ช่วยอธิการบดีฝ่ายกิจการทั่วไป      รองประธานกรรมการ

 ๒๔๙๐ เป็นต้นมา โดยให้มีการจัดการศึกษาเฉพาะในระดับปริญญาตรี      ๓. ผู้อ านวยการส านักงานวิทยาเขตขอนแก่น          กรรมการ
    ภายหลังจากการที่พระองค์ได้ทรงสถาปนามหาวิทยาลัยให้มีการจัดการศึกษาให้แก่พระสงฆ์ทั้ง     ๔. ผู้อ านวยการส านักวิชาการ                กรรมการ
 วิชาการพระไตรปิฎกและการศึกษาระดับปริญญาตรี มาเป็นระยะเวลากว่า ๔๑ ปี ต่อมา พระมหาประยูร            ๕. นายอุดร จันทวัน                   กรรมการ
 ธมฺมจิตฺโต ป.ธ.๙, ดร. ผู้อ านวยการกองวิชาการ ได้มองเห็นความจ าเป็นในการพัฒนาการศึกษาให้แก่พระสงฆ์     ๖. นายพุทธชาติ  ค าส าโรง                กรรมการ

 ให้มีความรู้ที่สูงขึ้น จึงได้ริเริ่มจัดตั้งหน่วยงานระดับบัณฑิตวิทยาลัยขึ้น เพื่อจัดการศึกษาในระดับปริญญาโท     ๗. รศ.อุดม บัวศรี                   กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
 และปริญญาเอก ให้แก่พระสงฆ์ โดยอาศัยแนวปฏิบัติตามความในค าสั่งมหาเถรสมาคม เรื่องการศึกษาของ     ๘. รศ.ดร.เอกฉัท  จารุเมธีชน                กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
 มหาวิทยาลัยสงฆ์ พ.ศ. ๒๕๑๒ ข้อ ๕ (๒) ว่าด้วยการพิจารณา จัดตั้ง ยุบ รวม และเลิกล้ม คณะ วิทยาลัย      ๙. ผศ.ดร.ประยงค์  แสนบุราณ               กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ
 บัณฑิตวิทยาลัย ภาควิชา และหรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นในมหาวิทยาลัย และข้อ ๗ ความว่า “ถ้าเป็น     ๑๐. ดร.สมหวัง  แก้วสุฟอง   ๕               กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ

 การสมควรมหาวิทยาลัยสงฆ์ ทั้งสองแห่งจะร่วมกันจัดการศึกษาขั้นบัณฑิตวิทยาลัยอีกส่วนหนึ่ง โดย     ๑๑. พระครูปลัดสุกันยา อรุโณ                กรรมการและเลขานุการ
 อนุมัติของสภามหาวิทยาลัยของคณะสงฆ์ก็ได้” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จึงได้มีประกาศที่      ๑๒. นายโสวิทย์  บ ารุงภักดิ์                กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
 ๖๕/๒๕๒๙ ลงวันที่ ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๒๙ แต่งตั้งคณะกรรมการขึ้น เพื่อด าเนินการยกร่างโครง                        ๑๓. นายสุรพร  ตุ่นป่า                   กรรมการและผู้ช่วยเลขานุการ
 การบัณฑิตวิทยาลัยและหลักสูตรปริญญาโท ประกอบด้วย      คณะกรรมการได้ปรารภถึงพัฒนาการของวิทยาเขตขอนแก่นได้จัดการศึกษาระดับปริญญาตรี

    ๑. พระเมธีสุทธิพงศ์ (ระวัง วชิรญาโณ)      ประธานกรรมการ   ตั้งแต่ปี ๒๕๒๙ เป็นต้นมา สามารถเปิดสอน ๕ สาขาวิชา คือ สาขาวิชาศาสนาและปรัชญา สาขาวิชาหลักสูตร
    ๒. พระมหาณรงค์  จิตฺตโสภโณ                กรรมการ   และการสอน สาขาวิชารัฐศาสตร์ (การเมือง-การปกครอง) สาขาวิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาและ
 ๑
    ๓. พระมหาทองสูรย์ สุริยโชโต                กรรมการ   สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ ได้ผลิตบัณฑิตส าเร็จการศึกษาไปแล้ว ๑๓  รุ่น พระบัณฑิตจ านวนมากเหล่านั้นมี
 ๒
 ๓
    ๔. พระมหาจรรยา  ชินว โส                      กรรมการ   ความประสงค์จะศึกษาต่อในระดับปริญญาโท แต่ได้มีปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาเพราะการเดินทางไป
 ๔
    ๕. พระมหาประยูร  ธมฺมจิตฺโต             กรรมการ   ศึกษาต่อทั้งในส่วนกลางหรือต่างประเทศ หากมีการขยายโอกาสการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามาไว้ที่วิทยาเขต
    ๖. นายจ านงค์ ทองประเสริฐ         กรรมการ   ขอนแก่น ย่อมอ านวยความสะดวกและการเปิดโอกาสทางการศึกษาให้พระบัณฑิตมีโอกาสศึกษาในระดับสูงได้
    ๗. รศ.ดร.จ าลอง  สารพัดนึก         กรรมการ      ในปัจจุบันวิทยาเขตขอนแก่น ได้มีศักยภาพทั้งด้านบุคลากร อาคารสถานที่ วัสดุครุภัณฑ์ ตลอด
                  ถึงสิ่งอ านวยความสะดวกซึ่งเอื้อต่อการจัดการเรียนรู้ในระดับบัณฑิตศึกษา จึงได้รับการสนับสนุนให้เปิด

                                                              การศึกษามาโดยล าดับ จากเหตุผลและความจ าเป็นดังกล่าว
     ๑   พระราชปวราจารย์, รศ.ดร.  อดีตตรองอธิการบดีวิทยาเขตนครราชสีมา วัดมหาพฤฒาราม กรุงเทพมหานคร.
     ๒   พระเทพกิตติโมลี  เจ้าอาวาสวัดศรีนครินทรวราราม ประเทศสวิสเซอร์แลนด์.
     ๓   พระเมธีรัตนดิลก, ดร. อดีตอาจารย์ประจ าคณะพุทธศาสตร์ วัดอรุณราชวราราม กรุงเทพมหานคร.
     ๔   พระพรหมบัณฑิต, ศ.ดร. อธิการบดีมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย พ.ศ. ๒๕๔๐ – ๒๕๖๑.        ๕  พระโสภณพัฒนบัณฑิต, รศ.ดร. (สุกันยา อรุโณ) รองอธิการบดีวิทยาเขตขอนแก่น พ.ศ. ๒๕๔๕ ถึงปัจจุบัน
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31