Page 32 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 32

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   23

 ๒๒       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๒๓


    ๑. ผู้สมัครต้องเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ที่มีความเป็นไปได้ มีรายละเอียดครอบคลุม      ให้น าเสนอโครงร่างสารนิพนธ์ที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับรายวิชาที่ก าหนดให้สอบวัดคุณสมบัติ เพื่อขอ
       ๑) หัวข้อดุษฎีนิพนธ์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ   สอบสารนิพนธ์พร้อมความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาสารนิพนธ์ ส่วนระเบียบปฏิบัติอื่น ๆ ให้ถือปฏิบัติตาม

       ๒) รายชื่อคณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ที่ตอบรับแล้ว   ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย  เรื่อง การสอบวัดคุณสมบัตินิสิตหลักสูตร
       ๓) ความเป็นมาและความส าคัญของปัญหา   พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต และประกาศบัณฑิตวิทยาลัยว่าด้วยเรื่องการสอบวัดคุณสมบัติระดับบัณฑิตศึกษา
       ๔) วัตถุประสงค์การวิจัย   พ.ศ. ๒๕๔๙
       ๕) ทบทวนเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง       นิสิตแบบ ๒.๑  ต้องสอบวัดคุณสมบัติด้านบทความวิชาการ ๑ ชิ้นงาน และบทวิจารณ์หนังสือ
       ๖) วิธีการด าเนินการวิจัย   ๑ ชิ้นงาน ตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัยว่าด้วยเรื่องการสอบวัดคุณสมบัติระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๙ หรือ

       ๗) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ   น าไปตีพิมพ์ในวารสารวิชาการที่มีการควบคุมคุณภาพจากผู้ทรงคุณวุฒิ (Peer Review) ตรวจสอบได้จาก
       ๘) โครงสร้างของดุษฎีนิพนธ์ (สารบัญชั่วคราว)   ฐานข้อมูล TCI
       ๙) บรรณานุกรมและเชิงอรรถ              นอกจากนั้น ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

       ๑๐) ประวัติผู้วิจัย    (LIMCU) หรือสถาบันภาษาอื่นที่มหาวิทยาลัยก าหนด และเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ ภาษา
    ๒. ผู้สมัครต้องผ่านสอบข้อเขียนวัดความรู้ในรายวิชาตามที่บัณฑิตวิทยาลัย และ/หรือ  บาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน ภาษาเยอรมัน หรือภาษาฝรั่งเศสนิสิตชาวต่างประเทศที่จบ
 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรก าหนด และสอบวัดความรู้ด้านภาษาอังกฤษเป็นไปตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัย   การศึกษาระดับปริญญาโทจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ สามารถเลือกสอบภาษาไทยเป็น
 และ/หรือสถาบันภาษามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยก าหนดไว้    ภาษาต่างประเทศได้

    ๓. ผู้สมัครต้องผ่านการสอบสัมภาษณ์ในเนื้อหาโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ และความรู้ความสามารถด้าน      นิสิตสอบผ่านรายวิชาที่หลักสูตรก าหนดครบถ้วนทุกรายวิชาแล้วทั้งรายวิชาที่นับหน่วยกิต และ/
 อื่น ๆ ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด   หรือไม่นับหน่วยกิต สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ส าหรับระดับปริญญาเอกแล้ว
             ๔. ผู้สอบเข้าได้ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย ต้องเข้ารายงานตัวตามวัน เวลา และสถานที่ที่  มีหัวข้อวิจัยได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณาจารย์ประจ าหลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ จึงมีสิทธิ์เสนอโครง
 บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด   ร่างดุษฎีนิพนธ์ เพื่ออนุมัติลงทะเบียนท าดุษฎีนิพนธ์

                            ระบบการศึกษาในเรื่องอื่นๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย
 ระบบการศึกษา     การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามาใช้โดยอนุโลม

          บัณฑิตวิทยาลัยจัดการศึกษาระบบทวิภาคโดยแบ่งเวลาการศึกษาในแต่ละปีการศึกษาออกเป็น ๒        ๓. หลักสูตรปริญญาครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา
 ภาคการศึกษาปกติแต่ละภาคการศึกษามีเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ และอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน         แบบ ๑.๑ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอท าดุษฎี
 ได้อีก ๑ ภาคการศึกษาโดยก าหนดระเบียบว่าด้วยการศึกษาภาคฤดูร้อนตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับ  นิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดยคณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้น
 บัณฑิตศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ๒๕๔๘ และข้อบังคับ กฎ ระเบียบ ประกาศของมหาวิทยาลัยมหาจุฬา  แต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอกสถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจ

 ลงกรณราชวิทยาลัย และบัณฑิตวิทยาลัย ในแต่ละหลักสูตรก าหนดให้นิสิตสอบวัดคุณสมบัติ ดังนี้   เข้ารับฟังได้ ส าหรับผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับ

 ๑. หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา   การตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง
                นิสิตแบบ ๒.๑ ต้องสอบวัดคุณสมบัติเขียนสารนิพนธ์ประกอบ ๑ รายวิชาต่อไปนี้   หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการส าหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

    ๑) ๘๐๑ ๑๐๑      สัมมนาพระไตรปิฎกและอรรถกถา  หรือ          แบบ ๒.๑ ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่ก าหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ ากว่า
    ๒) ๘๐๑ ๒๐๗      สัมมนาหลักพุทธธรรม หรือ   ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
    ๓) ๘๐๑ ๒๐๘      สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่   เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอท าดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายโดย
                  คณะกรรมการที่สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง ซึ่งจะต้องประกอบด้วยผู้ทรงคุณวุฒิจากภายในและภายนอก
 ๒. หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
      นิสิตแบบ ๒.๑  ต้องสอบวัดคุณสมบัติใน ๓ รายวิชาต่อไปนี้    สถาบันและต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ ส าหรับผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์

 ๑) ๘๐๒   ๑๐๑    สัมมนาพุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก   ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ
 ๒) ๘๐๒   ๒๐๗    การวิเคราะห์เชิงปรัชญา   คณะกรรมการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการส าหรับการเผยแพร่ผลงานทาง
 ๓) ๘๐๒   ๓๐๘    สัมมนาปัญหาในปรัชญาตะวันออก   วิชาการ
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37