Page 36 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 36

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   27

 ๒๖       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๒๗


        ๓.๑ นิสิตได้ก าหนดหัวข้อและโครงร่างตามความเห็นของที่ประชุมที่ร่วมกันพิจารณาข้อตาม  ๒. หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
 ข้อ ๒.๓ เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

        ๓.๒ นิสิตได้เขียนหัวข้อและโครงร่างให้เป็นไปตามแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนดหรือที่  คุณสมบัติผู้สมัครเข้าศึกษา
 หลักสูตรก าหนดโดยอนุโลม ทั้งนี้  ให้อาจารย์ประจ าหลักสูตรที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาในการท า     ๑. เป็นผู้ส าเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จากมหาวิทยาลัยหรือสถาบันการศึกษาที่สภา
 วิจัยเรื่องนั้นร่วมกับเลขานุการหลักสูตรหรือนักวิชาการศึกษาประจ าหลักสูตร เป็นผู้ตรวจโครงร่างให้มีเนื้อหาที่  มหาวิทยาลัยรับรอง หรือเป็นนิสิตปฏิบัติศาสนกิจของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 ครบถ้วนและรูปแบบถูกต้องก่อนน าเสนอให้มีการสอบทุกครั้ง      ๒. ต้องได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรีไม่ต่ ากว่า ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แต้ม ยกเว้นผู้มี
        ๓.๓ เมื่อนิสิตปรับปรุงแก้ไขหัวข้อและโครงร่างตามข้อเสนอแนะของผู้เกี่ยวข้องดังกล่าว  ประสบการณ์การท างานติดต่อกันเป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒ ปี นับแต่ส าเร็จการศึกษา หรือ

 ข้างต้นแล้ว ให้ผู้อ านวยการหลักสูตรจัดให้มีการสอบหัวข้อและโครงร่างภายในระยะเวลาหนึ่งเดือนนับแต่วันที่      ๓. ผู้จบเปรียญธรรมเก้าประโยค
 นิสิตยื่นเรื่องครั้งหลังสุด      ๔. ไม่เคยถูกลงโทษให้พ้นสภาพการเป็นนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย
   ๔. ดุษฎีนิพนธ์ต้องมีเนื้อหาประกอบด้วยจ านวนบทอย่างน้อย ๕ บท แต่ไม่เกิน ๗ บท โดยแบ่งการ      (หมายเหตุ : นิสิตปฏิบัติศาสนกิจสามารถสมัครได้ทุกหลักสูตร ยกเว้นหลักสูตรที่ใบประกอบ

 สอบออกเป็น ๓ ครั้ง ดังนี้   วิชาชีพ)
        ครั้งที่ ๑ สอบหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์
                  ครั้งที่ ๒ สอบน าเสนองานในการสัมมนาดุษฎีนิพนธ์ (Public Hearing)
              ครั้งที่ ๓ สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์     วิธีคัดเลือกผู้เข้าศึกษา

             ๕. การลงทะเบียนและช าระค่าลงทะเบียนดุษฎีนิพนธ์ แบ่งออกเป็น ๓ ครั้ง ตามจ านวนครั้งที่มีการ     ๑. บัณฑิตวิทยาลัยจะด าเนินการคัดเลือกผู้สมัครเข้าศึกษา โดยแต่งตั้งคณะกรรมการสอบคัดเลือก
 สอบดุษฎีนิพนธ์ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด      ผู้สมัครเข้าศึกษา ในแต่ละปีการศึกษา ผู้สมัครต้องผ่านกระบวนการสอบคัดเลือกตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด
             ๖. นิสิตมีสิทธิ์เสนอขอสอบดุษฎีนิพนธ์ครั้งที่ ๓ (ครั้งสุดท้าย) เพื่อสอบจบการศึกษา เมื่อได้ศึกษา     ๒. วิธีการคัดเลือกอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษา
 รายวิชาครบตามหลักสูตร มีหน่วยกิตสะสมและผลคะแนนผ่านเกณฑ์ประเมินของมหาวิทยาลัย  สอบผ่านวัด  ระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม

 คุณสมบัติด้านสารนิพนธ์ บทความวิชาการ และบทวิจารณ์หนังสือ สอบผ่านการสอบวัดความรู้ภาษาอังกฤษ
 และภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา ผ่านการตรวจการคัดลอกผลงานวิชาการไม่เกิน ๒๕ เปอร์เซ็นต์โดย  ระบบการศึกษา
 โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ ผ่านการปฏิบัติกรรมฐาน และท าดุษฎีนิพนธ์เสร็จสมบูรณ์  โดยใช้เวลาท าดุษฎีนิพนธ์ไม่     ๑. บัณฑิตวิทยาลัย จัดการศึกษาระบบหน่วยกิตทวิภาค โดยแบ่งเวลาการศึกษาในแต่ละปี
 น้อยกว่า ๘ เดือน  นับจากวันลงทะเบียนท าดุษฎีนิพนธ์       การศึกษาออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ แต่ละภาคการศึกษามีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์

            ๔. การเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ การลงทะเบียนดุษฎีนิพนธ์การสอบดุษฎีนิพนธ์                       ๒. ระบบการศึกษาในเรื่องอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย
 ให้เป็นไปตามระเบียบ/ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย   การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม


 การส าเร็จการศึกษา   ระยะเวลาการศึกษา
   คุณสมบัติผู้ส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร มีดังต่อไปนี้         ๑. ให้มีระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไม่เกิน ๑๐ ภาค
     ๑. นิสิตมีระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ (๓ ปี) และไม่เกิน   การศึกษาปกติ ในระบบทวิภาค (๒ ปี แต่ไม่เกิน ๕ ปี)

 ๑๒ ภาคการศึกษาปกติ (๖ ปี)      ๒. รายละเอียดอื่น ๆ ใดที่เกี่ยวข้องกับระยะเวลาการศึกษา ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
     ๒. ศึกษารายวิชาครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ มีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่ก าหนด  กรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศกระทรวงศึกษาธิการมาใช้โดยอนุโลม
 ไว้ในหลักสูตร และได้ค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม โดยไม่ติดค้างค่าธรรมเนียมใดๆ
         ๓. สอบผ่านวัดคุณสมบัติที่ก าหนดให้ศึกษา   การลงทะเบียนเรียน

     ๔. สอบผ่านการวัดความรู้ภาษาต่างประเทศ ๒ ภาษา       ๑. นิสิตต้องลงทะเบียนรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามก าหนดเวลาในปฏิทินการศึกษา โดยความ
     ๕. ผ่านการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด   เห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป นิสิตที่ไม่มาลงทะเบียนรายวิชาภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ
    ๖. บทความดุษฎีนิพนธ์ได้รับการพิมพ์เผยแพร่ในวารสารทางวิชาการที่ได้รับมาตรฐานก่อนส าเร็จ  นับจากวันเปิดภาคการศึกษา  ไม่มีสิทธิ์ลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากคณบดี
 การศึกษา         บัณฑิตวิทยาลัยหรือประธานกรรมการบริหารบัณฑิตศึกษา

    ๗. สอบผ่านการประเมินผลดุษฎีนิพนธ์และส่งดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ตามที่มหาวิทยาลัยก าหนด
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41