Page 38 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 38

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   29

 ๒๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๒๙


 ๒. จ านวนหน่วยกิตที่ก าหนดให้นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษา ต้องไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต   ข้อก าหนดเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์
 และไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต นิสิตที่ลงทะเบียนล่าช้ากว่าที่ก าหนด ต้องช าระค่าธรรมเนียมการศึกษาตามที่     ๑. นิสิตมีสิทธิ์เสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขออนุมัติลงทะเบียนท าวิทยานิพนธ์เมื่อศึกษา

 มหาวิทยาลัยก าหนด   รายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติและมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๙ หน่วยกิต หัวข้อและโครง
 ๓.  นิสิตที่ได้ศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว  แต่ยังไม่ส าเร็จการศึกษา ต้องลงทะเบียนรักษา  ร่างที่ขอก าหนดข้อสอบต้องเขียนให้ครบ ๓ บท ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด และหัวข้อย่อยของบทที่ ๑
 สภาพการเป็นนิสิตทุกภาคการศึกษา   บทที่ ๒ และบทที่ ๓ ให้เป็นไปตามคู่มือการท าวิทยานิพนธ์
 ๔. รายละเอียดเกี่ยวกับการลงทะเบียนในกรณีอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช     ๒. นิสิตสามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้ หลังจากได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์แล้ว
 วิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม      ๓. นิสิตมีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธ์ได้เมื่อ

                                 (๑) ใช้เวลาท าวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓ เดือน นับตั้งแต่วันที่ได้รับอนุมัติหัวข้อและโครงร่าง
 การวัดผลประเมินผลรายวิชา   วิทยานิพนธ์และลงทะเบียนวิทยานิพนธ์

    ๑. ให้มีการวัดผลทุกรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษา  โดยวิธีการทดสอบการเขียน        (๒) สอบผ่านรายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนตามเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร รวมทั้งเงื่อนไขอื่นๆ
 รายงาน การมอบหมายงานให้ท า หรือวิธีอื่นใดที่เหมาะสมกับรายวิชา   ที่เกี่ยวข้อง เช่น การปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด
    ๒. นิสิตจะมีสิทธิ์เข้าสอบไล่ หรือได้รับการวัดผลในรายวิชาใดก็ต่อเมื่อมีเวลาศึกษาในรายวิชานั้น        (๓) เขียนวิทยานิพนธ์เสร็จสมบูรณ์ตามค าแนะน าของคณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธ์และ
 มาแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น   ได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการดังกล่าวให้ท าการขอสอบได้

    ๓. การประเมินผลการศึกษารายวิชา แบ่งเป็น ๗ ระดับ คือ   A,  A-,   B+,   B, C+,   C  และ  F       ๔. การเสนอหัวข้อและโครงร่างวิทยานิพนธ์ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ การสอบวิทยานิพนธ์
 มีผลการศึกษา ระดับ ค่าระดับ และเกณฑ์คะแนน แต่ละระดับ ดังนี้   ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่าด้วย วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ์มาใช้โดยอนุโลม
 เกณฑ์คะแนน
 ค่า
 ผลการศึกษา   ระดับ   วิชาเลิก   วิชาบังคับ  เกณฑ์   การส าเร็จการศึกษา
 ระดับ
 และวิชาเอก              คุณสมบัติผู้ส าเร็จการศึกษาตามหลักสูตร มีดังต่อไปนี้
 เยี่ยม (Excellent)   A   ๔.๐๐   ๙๕ - ๑๐๐   ๙๕ - ๑๐๐  เกณฑ์ผ่านวิชาบังคับและ     ๑.  ใช้เวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๔ ภาคการศึกษาปกติ แต่ไม่เกิน ๑๐ ภาค
 วิชาเอก          การศึกษาปกติในระบบทวิภาค

 ดีมาก (Very Good)   A-   ๓.๖๗  ๙๐ – ๙๔   ๙๐ – ๙๔   ”      ๒. ศึกษาและสอบผ่านรายวิชาครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่ก าหนดไว้ มีหน่วยกิตสะสม
 ดี (Good)   B+   ๓.๓๓  ๘๕ - ๘๙   ๘๕ - ๘๙   ”   ไม่น้อยกว่าที่ก าหนดไว้ในหลักสูตร และได้ค่าเฉลี่ยสะสมไม่ต่ ากว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม โดยไม่ติดค้าง

 ค่อนข้างดี (Quite Good)   B   ๓.๐๐  ๘๐ – ๘๔   ๘๐ – ๘๔   ”   ค่าธรรมเนียมใด ๆ
 ปานกลาง (Moderate)   C+   ๒.๕๐  ๗๕ – ๗๙   ต่ ากว่า ๘๐ F  เกณฑ์ผ่านวิชาเลือก      ๓. ผ่านการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด
 ผ่าน (Pass)   C   ๒.๐๐  ๗๐ – ๗๔      ”      ๔. วิทยานิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยด าเนินการให้ทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งของ
 ตก (Failed)   F   ๐   ต่ ากว่า ๗๐      ”   วิทยานิพนธ์ได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มี
                  รายงานการประชุม (Proceeding)
    ๔. นิสิตต้องสอบไล่ได้ระดับ A, A-, B+ และ B หรือ S ในรายวิชาที่หลักสูตรก าหนดไว้เป็นวิชา
 บังคับ วิชาเอก หรือวิชาเลือก นิสิตที่ได้ระดับต่ ากว่า B ในรายวิชาบังคับหรือวิชาเอก ต้องลงทะเบียนรายวิชา      ๕. คุณสมบัติอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษา
 นั้นใหม่ และต้องสอบให้ได้ระดับไม่ต่ ากว่า B หรือ S แล้วแต่กรณี เงื่อนไขอื่น ๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ  ระดับบัณฑิตศึกษามาใช้โดยอนุโลม

 มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยเรื่องการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
    ๕. การประเมินผลการศึกษารายวิชาที่ก าหนดให้ศึกษาเพิ่มเติม โดยไม่นับหน่วยกิต ให้ได้รับผล
 ประเมินเป็น S (Satisfactory – พอใจ) หรือ U (Unsatisfactory – ไม่น่าพอใจ)
    ๖. ระบบการวัดผลและประเมินผลในเรื่องอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช

 วิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43