Page 34 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 34

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   25

 ๒๔       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๒๕


 การลงทะเบียนเรียน   มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยว่าด้วยเรื่องการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และฉบับ

   ๑. นิสิตต้องลงทะเบียนรายวิชาทุกภาคการศึกษาตามก าหนดเวลาในปฏิทินการศึกษา โดยความ  แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๙
 เห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป นิสิตที่ไม่มาลงทะเบียนรายวิชาภายใน ๑๔ วันแรกของภาคการศึกษาปกติ     ๕. การประเมินผลดุษฎีนิพนธ์ ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัยว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับดุษฎี
 นับจากวันเปิดภาคการศึกษา ไม่มีสิทธิ์ลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้น เว้นแต่จะได้รับอนุมัติจากคณบดีบัณฑิต  นิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๕๐
 วิทยาลัยหรือประธานกรรมการบริหารบัณฑิตศึกษา                ๖. ระบบการวัดผลและประเมินผลในเรื่องอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช

   ๒. จ านวนหน่วยกิตที่ก าหนดให้นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษา  ต้องไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต   วิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ และข้อบังคับของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
 แต่ไม่เกิน ๑๕ หน่วยกิต นิสิตที่ลงทะเบียนล่าช้ากว่าที่ก าหนด  ต้องช าระค่าธรรมเนียมการศึกษาตามที่  ราชวิทยาลัย ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๔๙ มาถือปฏิบัติโดยอนุโลม
 มหาวิทยาลัยก าหนด         ๗. การประเมินผลการศึกษารายวิชาที่ก าหนดให้ศึกษาเพิ่มเติมโดยไม่นับหน่วยกิตให้ได้รับผล

   ๓.  นิสิตที่ได้ศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตรแล้ว  แต่ยังไม่ส าเร็จการศึกษาต้องลงทะเบียนรักษา  ประเมินเป็น S (Satisfactory – ผ่าน) หรือ U (Unsatisfactory – ไม่ผ่าน)
 สภาพการเป็นนิสิตทุกภาคการศึกษา
   ๔. รายละเอียดเกี่ยวกับการลงทะเบียนในกรณีอื่น ๆ ให้น าข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ  ข้อก าหนดเกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ์
 ราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มาใช้โดยอนุโลม        ให้ถือตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติเกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๔๒ แก้ไขเพิ่มเติม
                  พ.ศ. ๒๕๕๐ และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย เรื่อง การสอบหัวข้อและโครงร่างระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๐

 การวัดผลประเมินผลรายวิชา
           ให้ถือตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา      แบบ ๑.๑

 พ.ศ. ๒๕๔๑  (ฉบับที่ ๓) แก้ไขเพิ่มเติม พุทธศักราช ๒๕๔๙            ๑. นิสิตสามารถเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ เพื่อขออนุมัติลงทะเบียนท าดุษฎีนิพนธ์ได้
             ๑. ให้มีการวัดผลทุกรายวิชาที่นิสิตลงทะเบียนแต่ละภาคการศึกษา  โดยวิธีการทดสอบทั้งก่อนและ  หลังจากขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตแล้ว
 หลังเรียน เขียนรายงาน มอบหมายงานให้ท าผลการฝึกภาคสนามหรือวิธีอื่นใดที่เหมาะสมกับรายวิชา           ๒. นิสิตมีสิทธิ์ขอสอบดุษฎีนิพนธ์ได้ ต่อเมื่อท าดุษฎีนิพนธ์เสร็จสมบูรณ์  โดยใช้เวลาท าดุษฎีนิพนธ์
            ๒. นิสิตจะมีสิทธิ์เข้าสอบไล่ หรือได้รับการวัดผลในรายวิชาใด ก็ต่อเมื่อมีเวลาศึกษาในรายวิชานั้น  ไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ นับจากวันลงทะเบียนท าดุษฎีนิพนธ์

 มาแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น      แบบ ๒.๑

            ๓. การประเมินผลการศึกษารายวิชา แบ่งเป็น ๗ ระดับ คือ A, A-, B+, B, C+,C และ F มีผล               ๑. นิสิตผู้เสนอขอสอบหัวข้อและโครงร่างฯ ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
 การศึกษา ระดับ ค่าระดับ และเกณฑ์คะแนน แต่ละระดับ ดังนี้           ๑.๑ สอบผ่านรายวิชาที่หลักสูตรก าหนดครบถ้วนทุกรายวิชาแล้ว  ทั้งรายวิชาที่นับหน่วยกิต
 เกณฑ์คะแนน       และ/หรือไม่นับหน่วยกิต ยกเว้นการสอบหัวข้อและโครงร่างส าหรับหลักสูตรระดับปริญญาโท
 ค่า
 ผลการศึกษา   ระดับ   วิชาเลิก   วิชาบังคับ  เกณฑ์          ๑.๒ สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ส าหรับระดับปริญญาเอก
 ระดับ
 และวิชาเอก       เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
 เยี่ยม (Excellent)   A   ๔.๐๐   ๙๕ - ๑๐๐   ๙๕ - ๑๐๐  เกณฑ์ผ่านวิชาบังคับและ         ๑.๓ ข้อเรื่องที่จะท าการศึกษาวิจัยได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุมคณาจารย์ประจ า
 วิชาเอก          หลักสูตรและผู้ทรงคุณวุฒิ

 ดีมาก (Very Good)   A-   ๓.๖๗  ๙๐ – ๙๔   ๙๐ – ๙๔   ”          ๑.๔ โครงร่างได้เขียนขึ้นและตรวจสอบให้เป็นไปตามแบบที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนดหรือที่
 ดี (Good)   B+   ๓.๓๓  ๘๕ - ๘๙   ๘๕ - ๘๙   ”   หลักสูตรก าหนดโดยอนุโลม

 ค่อนข้างดี (Quite Good)   B   ๓.๐๐  ๘๐ – ๘๔   ๘๐ – ๘๔   ”          ๑.๕ ได้ช าระค่าธรรมเนียมการศึกษาตลอดระยะเวลาการศึกษาที่ผ่านมาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
 ปานกลาง (Moderate)   C+   ๒.๕๐  ๗๕ – ๗๙   ต่ ากว่า ๘๐ F  เกณฑ์ผ่านวิชาเลือก   โดยไม่ติดค้างค่าใช้จ่ายใดๆ ทั้งสิ้น
 ผ่าน (Pass)   C   ๒.๐๐  ๗๐ – ๗๔      ”       ๒. หัวข้อและโครงร่างที่ขอก าหนดข้อสอบต้องประกอบด้วยเนื้อหา ดังนี้
 ตก (Failed)   F   ๐   ต่ ากว่า ๗๐      ”          ๒.๑ เขียนให้ครบ ๓ บท ตามที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนด

             ๔.  นิสิตต้องสอบไล่ได้ระดับ A, A-, B+ และ B หรือ S ในรายวิชาที่หลักสูตรก าหนดไว้เป็นวิชา         ๒.๒ หัวข้อย่อยของบทที่ ๑ บทที่ ๒ และบทที่ ๓ ให้เป็นไปตามคู่มือการท าวิทยานิพนธ์หรือ
 บังคับ วิชาเอก หรือวิชาเลือก นิสิตที่ได้ระดับต่ ากว่า B ในรายวิชาบังคับหรือวิชาเอก ต้องลงทะเบียนรายวิชา  คู่มือการท าดุษฎีนิพนธ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยก าหนดหรือคู่มือที่หลักสูตรก าหนดโดยอนุโลม
 นั้นใหม่ และต้องสอบให้ได้ระดับไม่ต่ ากว่า B หรือ S แล้วแต่กรณี เงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามข้อบังคับ         ๓. เมื่อนิสิตยื่นค าร้องขอสอบหัวข้อและโครงร่างแล้ว ให้ผู้อ านวยการหลักสูตรยื่นอนุมัติต่อคณบดี
                  บัณฑิตวิทยาลัยหรือผู้ที่ได้รับมอบหมายให้ท าการแทน จัดให้มีการสอบ โดยมีแนวทางด าเนินการ ดังนี้
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39