Page 40 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 40

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   31

 ๓๐       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๓๑


                                          หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต

                         สาขาวิชาพระพุทธศาสนา แบบ ๒.๑ ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐
 หลักสูตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น

                  ๑. ชื่อหลักสูตร

 หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต        ชื่อหลักสูตรภาษาไทย        : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา

 สาขาวิชา พระพุทธศาสนา            ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ     : Doctor of Philosophy Program in Buddhist Studies

 สาขาวิชา ปรัชญา     ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

 หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต         ชื่อเต็มภาษาไทย    : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (พระพุทธศาสนา)
                       ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ         : Doctor of Philosophy  (Buddhist Studies)
 สาขาวิชา พุทธบริหารการศึกษา         ชื่อย่อภาษาไทย    : พธ.ด. (พระพุทธศาสนา)

 สาขาวิชา การสอนสังคมศึกษา        ชื่อย่อภาษาอังกฤษ    : Ph.D. (Buddhist Studies)

  หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต   ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ


 สาขาวิชา พระพุทธศาสนา      หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น

 สาขาวิชา ปรัชญา            บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น

 หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต    ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร


 สาขาวิชา พุทธบริหารการศึกษา       ปรัชญาของหลักสูตร
                         เรียนรู้และเข้าใจพุทธศาสน์อย่างถูกต้องและมีความสุข ประยุกต์และบูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่
 สาขาวิชา การสอนสังคมศึกษา   มีจิตมั่นคงเป็นกัลยาณมิตร ท าประโยชน์ตนและคนอื่นอย่างเหมาะสม

    หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต
                         ความส าคัญของหลักสูตร
                         เป็นหลักสูตรที่แสดงถึงความเป็นมหาวิทยาลัยสงฆ์ จัดการศึกษาพระพุทธศาสนาด้านปริยัติ ปฏิบัติ

                  และปฏิเวธ และประยุกต์พระพุทธศาสนาเพื่อพัฒนาจิตใจและสังคม และพระพุทธศาสนาถือเป็นสถาบันหลัก
                  ของประเทศไทย เป็นรากฐานวัฒนธรรมประเพณีของชาติ เป็นเบ้าหล่อหลอมจิตของประชาชน และ
                  พระพุทธศาสนาถือว่ามนุษย์เป็นผู้ที่สามารถพัฒนาจิตปัญญาให้เป็นคนประเสริฐได้ หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎี
                  บัณฑิตสาขาวิชาพระพุทธศาสนามีความจ าเป็นต่อการพัฒนาดังกล่าว เพื่อสร้างนักวิชาการ

                  ด้านพระพุทธศาสนา สร้างนักวิจัยด้านพระพุทธศาสนา แสวงหาองค์ความรู้ใหม่โดยมีพระพุทธศาสนาเป็นฐาน

                  คิดให้ผู้เรียนเป็นผู้ที่ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและมีคุณธรรมและจริยธรรม


                            วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
                         ๑. เพื่อผลิตพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต ให้มีความรู้ความเข้าใจพระไตรปิฎกและคัมภีร์พระพุทธศาสนา

                  อื่นอย่างละเอียดลึกซึ้งทั้งด้านทฤษฎีและการปฏิบัติและสามารถบูรณาการเข้ากับศาสตร์สมัยใหม่ได้อย่าง
                  เหมาะสม
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45