Page 48 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 48

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๓๖                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๓๗  37


 ๑๐๑ ๔๒๗    รัฐศาสตร์ในพระไตรปิฎก                   ๒ (๒-๐-๔)   ๑๐๑ ๔๑๒    พระสูตรมหายาน                      ๓ (๓-๐-๖)
       (Political Science in Tipitaka)         (Mahayana Sutras)

       ศึกษาความหมายและขอบข่ายของรัฐศาสตร์ วิเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีหลักทางรัฐศาสตร์        ศึกษาหลักธรรมส าคัญในพระสูตรมหายานโดย เลือกศึกษาพระสูตรที่ส าคัญ เช่น ปรัชญา
 ในพระไตรปิฎก รูปแบบ วิธีการปกครองตามแนวนิติรัฐ หลักธรรมาภิบาล หลักธรรมของผู้บริหาร เปรียบเทียบ  ปารมิตาหฤทยสูตร ทศภูมิกสูตร สัทธรรมปุณฑริกสูตร สุขาวดีวยูหสูตร วิมลเกียรตินิเทศสูตร และลังกาวตาร
 ประยุกต์และบูรณาการรัฐศาสตร์ตามแนวพุทธศาสตร์กับรัฐศาสตร์ทั่วไป   สูตร
 ๑๐๑ ๔๓๐    พระพุทธศาสนากับสิทธิมนุษยชน                ๒ (๒-๐-๔)   ๑๐๑ ๓๒๕    พุทธธรรมกับสังคมไทย                    ๓ (๓-๐-๖)
       (Buddhism and Human Rights)         (Buddhadhamma and Thai Society)

       ศึกษาหลักสิทธิมนุษยชนตามหลักค าสอนทางพระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบกับปฏิญญา        ศึกษาอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมไทย ความเข้าใจพุทธธรรม การใช้พุทธธรรม
 สากลว่าสิทธิมนุษยชน รัฐธรรมนูญของไทยและพระราชบัญญัติของไทยว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ตลอดจนหลัก  แก้ปัญหาชีวิตและสังคม แนวโน้มของความเชื่อและการปฏิบัติของชาวพุทธในปัจจุบัน และการวิจารณ์
 สิทธิมนุษยชนของนานาอารยประเทศ   พระพุทธศาสนาของนักคิดไทยสมัยใหม่

 ๑๐๑ ๔๓๑    พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน               ๒ (๒-๐-๔)   ๑๐๑ ๔๓๓    พระพุทธศาสนากับสตรี                    ๓ (๓-๐-๖)
       (Buddhism and Sustainable Development)         (Buddhism and Women)
       ศึกษาหลักการพัฒนาที่ยั่งยืนตามแนวพระพุทธศาสนา โดยเน้นหลักการพัฒนามนุษย์ สังคม        ศึกษาวิเคราะห์แนวคิดและปัญหาเกี่ยวกับสตรีในพระพุทธศาสนา ด้านสถานภาพ บทบาท
 ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม   หน้าที่ ศักยภาพในการบรรลุธรรม การอุปถัมภ์ และเผยแผ่พระพุทธศาสนา

 ๑๐๑ ๔๓๒    มังคลัตถทีปนีศึกษา                      ๒ (๒-๐-๔)   ๑๐๑ ๔๒๙    พระพุทธศาสนากับสันติภาพ                  ๓ (๓-๐-๖)
       (Mangalatthadipani Studies)         (Buddhism and Peace)
       ศึกษาโครงสร้าง และเนื้อหาสาระของมังคลัตถทีปนี อิทธิพลของมังคลัตถทีปนีที่มีต่อ        ศึกษาหลักค าสอนส าคัญทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับสันติภาพ หลักการและวิธีการ
 วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาและวิถีชีวิตไทย   แก้ปัญหาความขัดแย้งแนวพุทธ โดยเน้นรูปแบบและวิธีการสังฆสามัคคี และใช้แนวคิดเรื่องสันติภาพทาง

 ๑๐๑ ๔๓๗    พระพุทธศาสนากับสาธารณสุข                  ๒ (๒-๐-๔)   ตะวันตกมาเทียบเคียง
       (Buddhism and Health Care )
       ศึกษาความหมายและขอบข่ายสาธารณสุขศาสตร์  ทั้งการแพทย์สมัยใหม่และการแพทย์แผน  ๑๐. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา
 ไทย ค าสอนในพระไตรปิฎกและอรรถกถาที่เกี่ยวกับเรื่องโรค การบริโภคปัจจัย ๔ การบริหารร่างกาย                       ผู้ที่จบการศึกษาปริญญาตรีสาขาวิชาพระพุทธศาสนา สามารถสอบเข้าท างานราชการในต าแหน่งที่

 การรักษาพยาบาล การพักผ่อน และการดูแลสุขภาพ จริยธรรมของผู้รักษาพยาบาล   ก.พ.ก าหนดว่าเป็นผู้ส าเร็จการศึกษาพุทธศาสตรบัณฑิต หรือท างานในหน่วยงานเอกชนที่ต้องการบุคลากรที่มี
 ๑๐๑ ๔๓๘    มิลินทปัญหาศึกษา                      ๒ (๒-๐-๔)   คุณวุฒิด้านพระพุทธศาสนา โดยสามารถเข้าท างานในหน้าที่ต่าง ๆ ดังนี้ (๑) บุคลากรทางการศึกษา (๒)
       (Milindapanha Studies)   นักวิชาการศาสนา (๓) อนุศาสนาจารย์ (๔) กรมราชทัณฑ์ (๕) กรมสุขภาพจิต (๖) เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมบุคลากร

       ศึกษาความเป็นมาของมิลินทปัญหา เนื้อหาสาระ ส านวนภาษา วิธีการตอบปัญหาและ  (๗) สังคมสงเคราะห์ฟื้นฟูพัฒนาจิตใจ
 แนวคิดทางปรัชญา

       ๔) วิชาเลือกเฉพาะสาขาพระพุทธศาสนา ๙ หน่วยกิต
 ๑๐๑ ๓๑๘    เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน                 ๓ (๓-๐-๖)

       (Comparision between Theravada and Mahayana)
       ศึกษาเปรียบเทียบสถานะและพระจริยาของพระพุทธเจ้า สถานะและบทบาทของพระ
 โพธิสัตว์ ค าสอนเรื่องธรรมกาย ทศบารมี ไตรลักษณ์ ปฏิจจสมุปบาท นิพพาน และพิธีกรรมส าคัญของนิกาย

 ทั้งสอง
 ๑๐๑ ๓๒๐    อักษรจารึกในพระไตรปิฎก                   ๓ (๓-๐-๖)
       (Tipitaka Scripts)
       ศึกษาอักษรต่าง ๆ ที่ใช้จารึกพระไตรปิฎก คือ อักษรเทวนาครี สิงหล ขอม พม่า มอญ อักษร

 ธรรมล้านนาและอักษรโรมัน ให้สามารถอ่านออกเขียนได้
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53