Page 43 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 43

32  | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
                  ๓๒                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  ๐๐๐ ๒๖๓       งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา                               ๒ (๒-๐-๔)
                                (Research and Literary Works on Buddhism)

                                ศึกษางานวิจัยทางพระพุทธศาสนา และวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ตั้งแต่
                  อดีตจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่น่าสนใจ เช่น เตภูมิกถาของพญาลิไท มังคลัตถ
                  ทีปนีของพระสิริมังคลาจารย์ กาพย์มหาชาติของพระเจ้าทรงธรรม สังคีติยวงศ์ของสมเด็จพระวันรัต (แก้ว)
                  วัดพระเชตุพน พระมงคลวิเสสกถาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แก่นพุทธศาสน์
                  ของพุทธทาส กรรมทีปนีของพระพรหมโมลี (วิลาส ญาณวโร) พุทธธรรมของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

                  พุทธวิทยาของอาจารย์พร รัตนสุวรรณ และงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัย
                  มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย


                                ค. กลุ่มวิชาวิปัสสนาธุระ ๔ หน่วยกิต
                  ๐๐๐ ๑๕๑       ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑                                                (๒)(๑-๒-๔)
                                (Buddhist Meditation I)
                                ศึกษาความเป็นมา ความหมาย หลักการ วิธีการ และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน

                  อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ๔๐ วิปัสสนาภูมิ ๖ สติปัฏฐาน ๔ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ ภาวนา ๓ นิมิต ๓ สมาธิ
                  ๓ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ วสี ๕ นิวรณ์ ๕ อุปกิเลส ๑๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและน าไปใช้
                  ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ นั่งก าหนด ๑ ระยะ หรือ ๒ ระยะ
                  ๐๐๐ ๑๕๒       ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒                                                ๑ (๑-๒-๔)

                                (Buddhist Meditation II)
                                ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร และอานา
                  ปานสติสูตรวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั้งแบบสมถยานิกะ และวิปัสสนายานิกะ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่
                  สิกขา ๓ วิชชา ๓ และสามัญญลักษณะ ๓ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๒ ระยะ นั่งก าหนด

                  ๒ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์
                  ๐๐๐ ๒๕๓       ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓                                                (๒)(๑-๒-๔)
                                (Buddhist Meditation III)

                                ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร วิธีการปรับ
                  อินทรีย์ ๕ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ วิปัลลาส ๓ อภิญญา ๖ วิสุทธิ ๗ วิชชา ๘ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดย
                  การเดินจงกรม ๓ ระยะ นั่งก าหนด ๓ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์
                  ๐๐๐ ๒๕๔       ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔                                                ๑ (๑-๒-๔)
                                (Buddhist Meditation IV)

                                ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิด
                  ของไตรสิกขาและไตรลักษณ์ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ปฏิบัติวิปัสสนา
                  กรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๔ ระยะ นั่งก าหนด ๔ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์

                  ๐๐๐ ๓๕๕       ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕                                                (๒)(๑-๒-๔)
                                (Buddhist Meditation V)
                                ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหา
                  สติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิดดับของรูปนามตามแนวปฏิจจสมุปบาท หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ โพธิปักขิย

                  ธรรม ๓๗ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๕ ระยะ นั่งก าหนด ๕ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48