Page 38 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 38

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๒๖                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๒๗  27


 ๐๐๐ ๑๑๕    ภาษาศาสตร์เบื้องต้น                     ๒ (๒-๐-๔)   ๐๐๐ ๑๐๕    มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม                     ๒ (๒-๐-๔)
       (Introduction to Linguistics)         (Man and Environment)

       ศึกษาความหมายของภาษาและภาษาศาสตร์ สาขาของวิชาภาษาศาสตร์ ลักษณะทั่วไปของ        ศึกษาสภาพแวดล้อมที่เกี่ยวกับมนุษย์ แนวคิดการบริหารจัดการสิ่งแวดล้อม การจัดการ
 ภาษา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสัทศาสตร์ (Phonetics) สรศาสตร์ (Phonemics) สัทอักษรสากล สัทอักษรไทย   สิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์ การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับสิ่งแวดล้อม หลักค าสอนทางพระพุทธศาสนาที่เกี่ยวกับ
 และหลักวิเคราะห์ภาษาไทยตามแนวภาษาศาสตร์   สิ่งแวดล้อม และบทบาทของพระสงฆ์ต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
 ๐๐๐ ๑๓๙    คณิตศาสตร์เบื้องต้น                     ๒ (๒-๐-๔)   ๐๐๐ ๑๐๖    เหตุการณ์โลกปัจจุบัน                     ๒ (๒-๐-๔)
       (Basic Mathematics)         (Current World Affairs)

       ศึกษาหลักพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ ข้อความ ประโยคเปิด ประพจน์ ตัวบ่งชี้ปริมาณ ค่าความ        ศึกษาเหตุการณ์ส าคัญที่เกิดขึ้นในโลก ทั้งมิติทางด้านเศรษฐกิจ สังคมและการเมือง ความ
 จริงตัวเชื่อมข้อความ และนิเสธ การหาค่าความจริง การสมมูลกัน การให้เหตุผล เซต ความหมายเซต ประเภท  ร่วมมือและความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมโลก ประเทศไทยกับเหตุการณ์ส าคัญของโลก ความร่วมมือของชาว
 เซต เซตย่อย การเท่ากันของเซต การด าเนินการของเซต พีชคณิตของเซต และการประยุกต์เซต จ านวนจริง   พุทธในเวทีโลก บทบาทของพระพุทธศาสนากับการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในโลกปัจจุบัน

 ระบบจ านวนจริง คุณสมบัติของจ านวนจริง สมการ อสมการ ค่าสัมบูรณ์ ความสัมพันธ์ ฟังก์ชั่น ฟังชั่นเชิงซ้อน   ๐๐๐ ๑๑๖    ภาษาอังกฤษเบื้องต้น                     ๒ (๒-๐-๔)
 แมตริกซ์ การด าเนินการแมตริกซ์ การเท่ากัน การบวก การคูณ ดีเทอร์มิเนนท์ อินเวอร์ส แมตริกซ์         (Basic English)
 ๐๐๐ ๒๑๐    ตรรกศาสตร์เบื้องต้น                     ๒ (๒-๐-๔)         ศึกษากฎเกณฑ์และการใช้ภาษาอังกฤษเกี่ยวกับการใช้ค าน าหน้านาม (Article) การใช้กาล
       (Introduction to Logic)   (Tense) การสร้างประโยค (Sentence) การใช้บุรพบท (Preposition) สันธาน (Conjunction) ฝึกทักษะ

       ศึกษานิมิต ค าที่เป็นปฏิปักษ์ต่อกัน วิภาค การนิยามความหมาย ญัตติประพจน์ในแบบต่างๆ   เบื้องต้นในการฟัง พูดอ่าน และเขียนในลักษณะที่สัมพันธ์กันเน้นด้านการอ่านและความเข้าใจภาษาอังกฤษ
 การแบ่งญัตติความเป็นปฏิปักษ์แห่งญัตติ ญัตติผสม การให้เหตุผล ปรัตถานุมานและปฤจฉาวาทีแบบต่างๆ   ซึ่งมีรูปประโยคและค าศัพท์ต่างๆ
 ศึกษาหลักการและวิธีการให้เหตุผลจากบทสนทนาของพระพุทธเจ้าในอนัตตลักขณสูตรหรือในสูตรอื่นๆ บท  ๐๐๐ ๑๑๗    ภาษาอังกฤษชั้นสูง                      ๒ (๒-๐-๔)
 สนทนาในคัมภีร์กถาวัตถุ ญาณวิทยาของนิกายสรวาสติวาท วิภาษวาทีของนาคารชุน เปรียบเทียบความเหมือน        (Advanced English)

 และความต่างระหว่างตรรกศาสตร์ตะวันตก กับตรรกศาสตร์ตะวันออก โดยเฉพาะหลักการเชิงตรรกะในคัมภีร์         ศึกษาโครงสร้างประโยคตามหลักไวยากรณ์และฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียน เน้นการ
 ๐๐๐ ๒๓๘    สถิติเบื้องต้นและการวิจัย                   ๒ (๒-๐-๔)   อ่าน การเขียน และความเข้าใจข้อความภาษาอังกฤษ ซึ่งมีค าศัพท์และโครงสร้างประโยคสัมพันธ์กับเอกสารที่
       (Basic Statistics and Research)   ใช้ศึกษา
       ศึกษาหลักพื้นฐานทางสถิติ การจัดเก็บข้อมูล การรวบรวมข้อมูล การแจกแจงความถี่ การหา  ๐๐๐ ๑๑๘ ภาษาสันสกฤตเบื้องต้น                      ๒ (๒-๐-๔)

 ค่าแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง การกระจายปกติ และความเบ้ ส่วนเบี่ยงเบน ความแปรปรวน ความน่าจะเป็น         (Basic Sanskrit)
 ค่าสถิติ Z Tและ F ประชากรและการสุ่มตัวอย่าง การทดสอบสมมุติฐาน การวิจัยลักษณะและประเภทการวิจัย         ศึกษาโครงสร้างของภาษาสันสกฤต อักษร เครื่องหมาย ระบบเสียง การเปลี่ยนแปลงอักษร
 ขั้นตอนการวิจัย รูปแบบการวิจัย การเขียนโครงร่างการวิจัย และการเขียนรายงานผลการวิจัย   และเสียงการเขียน การอ่านค าศัพท์ ส่วนประกอบของนามศัพท์ การแจกรูปนามศัพท์ สระการันต์ สระสนธิ

                  บุรุษสรรพนาม นิยมสรรพนาม ปฤจฉาสรรพนาม สัมพันธสรรพนาม กริยาศัพท์ ส่วนประกอบของกริยา
       ๒) วิชาเลือก จ านวน ๑๒ หน่วยกิต   อาขยาต การประกอบรูปเป็นอาขยาต กรรตุวาจกจากธาตุ การแจกรูปกริยา แปลและแต่งประโยคสันสกฤตที่
 ๐๐๐ ๑๐๓    การเมืองกับการปกครองของไทย                 ๒ (๒-๐-๔)   เหมาะสมกับไวยากรณ์ที่ได้ศึกษา
       (Politics and Thai Government)   ๐๐๐ ๑๑๙    ภาษาสันสกฤตชั้นสูง                            ๒ (๒-๐-๔)
       ศึกษาความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการเมืองและการปกครอง พัฒนาการการเมืองการปกครองของ        (Advanced Sanskrit)

 ไทย สถาบันทางการเมือง และการปกครองของไทย กระบวนการทางการเมืองของไทย การจัดระเบียบการ        ศึกษานามศัพท์ การแจกรูปนามศัพท์ พยัญชนะการันต์ พยัญชนะสนธิ สังขยาศัพท์ อัพยย
 ปกครองของไทย และพระพุทธศาสนากับการเมืองการปกครองของไทย   ศัพท์ กริยาศัพท์ การประกอบรูปเป็นอาขยาต กรรตุวาจกจากธาตุ กริยาอาขยาตกรรมวาจก ภาววาจก
 ๐๐๐ ๑๐๔    เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจ าวัน                  ๒ (๒-๐-๔)   ณิชันตกรรตุวาจก ณิชันตกรรมวาจก การสลับเปลี่ยนประโยคกรรตุวาจกเป็นกรรมวาจก ประโยคค าถาม

       (Economics in Daily Life)   ประโยคปฏิเสธ แปล และแต่งประโยคสันสกฤตที่เหมาะสมกับไวยากรณ์ที่ได้ศึกษา
       ศึกษาหลักการเบื้องต้นทางเศรษฐศาสตร์ ปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นใน  ๐๐๐ ๑๒๐    ภาษาไทยเบื้องต้น                      ๒ (๒-๐-๔)
 ชีวิตประจ าวัน  รูปแบบต่างๆ ของระบบเศรษฐกิจ การท างานของกลไกราคาในตลาด บทบาทของภาครัฐและ        (Basic Thai)
 ภาคเอกชนในระบบเศรษฐกิจ เงินตราและสถาบันการเงิน เน้นการวิเคราะห์สถานการณ์ปัจจุบัน ในเรื่องที่        ศึกษาหน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ หน่วยเสียงวรรณยุกต์ หน่วยค า ระบบไวยากรณ์

 เกี่ยวข้องเป็นข้อมูลประกอบการศึกษาและศึกษาเศรษฐศาสตร์ตามแนวพุทธ   ความหมายในภาษาไทย ฝึกทักษะการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย ฟังค าสั่ง ค าบรรยาย จดบันทึกเรื่องที่ฟังพูด
   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43