Page 42 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 42
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๓๐ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๓๑ 31
พระพุทธศาสนา ถอดบทเรียนภาวะผู้น าของบุคคลส าคัญ ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรทั้งในประเทศและ ๐๐๐ ๑๔๙ พระสุตตันตปิฎก ๒ (๒-๐-๔)
ระดับโลก ที่สามารถน าองค์กรไปสู่ความส าเร็จและเกิดสันติสุขแก่สังคมและชุมชนทั้งในประเทศและระดับโลก (Suttanta Pitaka)
๐๐๐ ๒๖๖ หลักธรรมาภิบาล ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระสุตตันตปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์
(Good Governance) พระสูตรที่ส าคัญ คือ พรหมชาลสูตร มหาปรินิพพานสูตร อัคคัญญสูตร รวมทั้งประเด็นส าคัญที่น่าสนใจ
ศึกษาความหมาย องค์ประกอบ ความส าคัญของหลักธรรมาภิบาล ๖ ประการ คือ หลักนิติ จากนิกายทั้ง ๕ นิกาย คือ ทีฆนิกาย มัชฌิมนิกาย สังยุตตนิกาย อังคุตตรนิกาย และขุททกนิกาย โดยอาศัย
ธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า อรรถกถา และฎีกาประกอบ
๐๐๐ ๑๕๐ พระอภิธรรมปิฎก ๒ (๒-๐-๔)
๒. หมวดวิชาเฉพาะ (Abhidhamma Pitaka)
๑) วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา จ านวน ๓๐ หน่วยกิต ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระอภิธรรมปิฎก เนื้อหาสาระ
ก. กลุ่มวิชาภาษาบาลีและพระพุทธศาสนา ๑๔ หน่วยกิต ประเด็นที่น่าสนใจในพระอภิธรรมปิฎกทั้ง ๗ คัมภีร์ โดยเน้นให้เข้าใจหลักปรมัตถธรรม คือ จิต เจตสิก รูป และ
๐๐๐ ๑๔๔ วรรณคดีบาลี ๒ (๒-๐-๔) นิพพาน โดยอาศัยอรรถกถาและฎีกาประกอบ
(Pali Literature)
ศึกษาประวัติ ความหมาย ประเภทและพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา ข. กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาทั่วไป ๑๒ หน่วยกิต
อนุฎีกา โยชนา และปกรณ์วิเสส วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย และคุณค่าของวรรณกรรมบาลีต่อสังคมไทย ๐๐๐ ๑๕๘ ประวัติพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔)
๐๐๐ ๑๔๕ บาลีไวยากรณ์ ๒ (๒-๐-๔) (History of Buddhism)
(Pali Grammar) ศึกษาประวัติศาสนาพระพุทธศาสนาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ความส าคัญและลักษณะเด่น
ศึกษาการเขียน การอ่านภาษาบาลี ฐานกรณ์ การออกเสียงพยัญชนะสังโยค การเชื่อมอักษร ของพระพุทธศาสนา การแยกนิกายของพระพุทธศาสนา การขยายตัวของพระพุทธศาสนาเข้าไปในนานา
ด้วยสนธิกิริโยปกรณ์ ประเภทและวิธีแจกค านามสังขยา อัพยยศัพท์ กิริยาอาขยาต นามกิตก์ กิริยากิตก์ สมาส ประเทศ และอิทธิพลของพระพุทธศาสนาต่อวัฒนธรรมในประเทศนั้นๆ รวมทั้งศึกษาขบวนการและองค์การ
และตัทธิต ใหม่ๆ ในวงการพระพุทธศาสนายุคปัจจุบันและอนาคต
๐๐๐ ๑๔๖ แต่งแปลบาลี ๒ (๒-๐-๔) ๐๐๐ ๒๕๙ เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔)
(Pali Composition and Translation) (Buddhist Festival and Traditions)
ศึกษาการแต่งบาลี การแปลบาลีทั้งโดยอรรถและโดยพยัญชนะให้ถูกต้องตามหลักภาษา ศึกษาเทศกาลและพิธีกรรมที่ส าคัญทางพระพุทธศาสนา ความหมาย คุณค่าของเทศกาลและ
การแต่งและการแปลประโยคพิเศษและส านวนที่ควรทราบ การแปลบาลีเป็นไทย และแปลไทยเป็นบาลีจาก พิธีกรรมนั้น ๆ ให้สามารถปฏิบัติได้ถูกต้อง
หนังสือที่ก าหนด ๐๐๐ ๒๖๐ การปกครองคณะสงฆ์ไทย ๒ (๒-๐-๔)
๐๐๐ ๑๔๗ พระไตรปิฎกศึกษา ๒ (๒-๐-๔) (Thai Sangha Administration)
(Tipitaka Studies) ศึกษาพัฒนาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัยถึงปัจจุบัน ศึกษาและ
ศึกษาก าเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การจ าแนกโครงสร้างและ วิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญัติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆ กฎ ระเบียบ ค าสั่งและประกาศที่ส าคัญของคณะสงฆ์
เนื้อหาสาระพระไตรปิฎก ค าอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลาย การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันส าหรับคณะสงฆ์ไทย
ลักษณ์อักษร ล าดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย และประโยชน์ที่ ๐๐๐ ๒๖๑ ธรรมะภาคภาษาอังกฤษ ๒ (๒-๐-๔)
ได้รับจากการศึกษาพระไตรปิฎก (Dhamma in English)
๐๐๐ ๑๔๘ พระวินัยปิฎก ๒ (๒-๐-๔) ศึกษาศัพท์ธรรมะทางพระพุทธศาสนาที่นิยมใช้กันแพร่หลายในภาษาอังกฤษ และหนังสือที่
(Vinaya Pitaka) ส าคัญทางพระพุทธศาสนา ที่นักปราชญ์ได้รจนาไว้ในภาษาอังกฤษ
ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์ ๐๐๐ ๒๖๒ ธรรมนิเทศ ๒ (๒-๐-๔)
เนื้อหาสาระที่ส าคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร โดยอาศัยอรรถกถาและ (Dhamma communication)
ฎีกาประกอบ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระวินัยปิฎก ศึกษาหลักการและวิธีการเผยแผ่พระพุทธศาสนา ศิลปะการเขียนบทความ การพูด และการ
พัฒนาบุคลิกภาพเกี่ยวกับการพูด การเทศนา การแสดงปาฐกถาธรรม การอภิปราย และการใช้สื่อประกอบการ
บรรยาย