Page 44 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 44
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๓๒ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๓๓ 33
๐๐๐ ๒๖๓ งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔) ๐๐๐ ๓๕๖ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖ ๑ (๑-๒-๔)
(Research and Literary Works on Buddhism) (Buddhist Meditation VI)
ศึกษางานวิจัยทางพระพุทธศาสนา และวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในประเทศไทย ตั้งแต่ ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ในพระสูตรที่เชื่อมโยงกับมหาสติปัฏฐาน
อดีตจนถึงปัจจุบัน วิเคราะห์วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาที่น่าสนใจ เช่น เตภูมิกถาของพญาลิไท มังคลัตถ สูตร เช่น อปัณณกสูตร สติสูตร อาการบรรลุมรรคผลและคุณธรรมของพระอริยบุคคล ฝึกปฏิบัติวิปัสสนา
ทีปนีของพระสิริมังคลาจารย์ กาพย์มหาชาติของพระเจ้าทรงธรรม สังคีติยวงศ์ของสมเด็จพระวันรัต (แก้ว) กรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๖ ระยะ นั่งก าหนด ๖ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์
วัดพระเชตุพน พระมงคลวิเสสกถาของสมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส แก่นพุทธศาสน์ ๐๐๐ ๔๕๗ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗ ๑ (๑-๒-๔)
ของพุทธทาส กรรมทีปนีของพระพรหมโมลี (วิลาส ญาณวโร) พุทธธรรมของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (Buddhist Meditation VII)
พุทธวิทยาของอาจารย์พร รัตนสุวรรณ และงานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในมหาวิทยาลัย ศึกษาวิธีการปฏิบัติกรรมฐาน สภาวธรรมที่เกิดดับในขณะปฏิบัติฯ วิธีแก้สภาวธรรมของส านัก
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ปฏิบัติธรรมในสมัยปัจจุบัน เปรียบเทียบกับมหาสติปัฏฐานสูตร ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม
และนั่งก าหนด ส่งและสอบอารมณ์
ค. กลุ่มวิชาวิปัสสนาธุระ ๔ หน่วยกิต
๐๐๐ ๑๕๑ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๑ (๒)(๑-๒-๔) ๒) วิชาแกนพระพุทธศาสนา ๓๓ หน่วยกิต
(Buddhist Meditation I) ๑๐๑ ๓๐๖ หลักพุทธธรรม ๓ (๓-๐-๖)
ศึกษาความเป็นมา ความหมาย หลักการ วิธีการ และประโยชน์ของการปฏิบัติกรรมฐาน (Principles of Buddhism)
อารมณ์ของสมถกรรมฐาน ๔๐ วิปัสสนาภูมิ ๖ สติปัฏฐาน ๔ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ ภาวนา ๓ นิมิต ๓ สมาธิ ศึกษาหลักพุทธธรรมที่ส าคัญในพระไตรปิฎก เน้นอริยสัจ ปฏิจจสมุปบาท เบญจขันธ์
๓ รูปฌาน ๔ อรูปฌาน ๔ วสี ๕ นิวรณ์ ๕ อุปกิเลส ๑๖ ให้มีความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติและน าไปใช้ ไตรลักษณ์ โพธิปักขิยธรรม กรรม สังสารวัฏ และนิพพาน โดยใช้คัมภีร์อรรถกถาและฎีกาประกอบ
ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน โดยการเดินจงกรม ๑ ระยะ นั่งก าหนด ๑ ระยะ หรือ ๒ ระยะ ๑๐๑ ๓๐๗ พุทธปรัชญาเถรวาท ๓ (๓-๐-๖)
๐๐๐ ๑๕๒ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๒ ๑ (๑-๒-๔) (Theravada Buddhist Philosophy)
(Buddhist Meditation II) ศึกษาอภิปรัชญา ญาณวิทยา จริยศาสตร์ และสุนทรียศาสตร์ในพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติกายานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร และอานา เปรียบเทียบกับปรัชญาตะวันตกและปรัชญาตะวันออก
ปานสติสูตรวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานทั้งแบบสมถยานิกะ และวิปัสสนายานิกะ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ ๑๐๑ ๓๐๘ ธรรมบทศึกษา ๓ (๓-๐-๖)
สิกขา ๓ วิชชา ๓ และสามัญญลักษณะ ๓ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๒ ระยะ นั่งก าหนด (Dhammapada Studies)
๒ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์ ศึกษาความหมาย ประวัติ โครงสร้าง หลักธรรมส าคัญของธรรมบท เน้นหลักธรรมส าคัญ
๐๐๐ ๒๕๓ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓ (๒)(๑-๒-๔) แนวคิดเชิงเศรษฐกิจ สังคมวัฒนธรรมอินเดีย อิทธิพลและคุณค่าของธรรมบทที่มีต่อวิถีชีวิตและภูมิปัญญาไทย
(Buddhist Meditation III) ๑๐๑ ๓๐๙ วิสุทธิมัคคศึกษา ๓ (๓-๐-๖)
ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติเวทนานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร วิธีการปรับ (Visuddhimagga Studies)
อินทรีย์ ๕ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ วิปัลลาส ๓ อภิญญา ๖ วิสุทธิ ๗ วิชชา ๘ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดย ศึกษาความหมาย ประวัติ โครงสร้างและหลักธรรมส าคัญของวิสุทธิมรรค และอิทธิพลของ
การเดินจงกรม ๓ ระยะ นั่งก าหนด ๓ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์ วิสุทธิมรรคที่มีต่อวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาและวิถีชีวิตไทย
๐๐๐ ๒๕๔ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔ ๑ (๑-๒-๔) ๑๐๑ ๓๑๐ นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
(Buddhist Meditation IV) (Communication in Tipitaka)
ศึกษาหลักการและวิธีปฏิบัติจิตตานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหาสติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิด ศึกษาความหมายและขอบข่ายของนิเทศศาสตร์ ค าสอนส าคัญที่เกี่ยวกับหลักการ รูปแบบ
ของไตรสิกขาและไตรลักษณ์ หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ วิปัสสนูปกิเลส ๑๐ วิปัสสนาญาณ ๑๖ ปฏิบัติวิปัสสนา วิธีการสื่อค าสอนของพระพุทธเจ้าและสาวก และจริยธรรมกับการสื่อสารในพระไตรปิฎก
กรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๔ ระยะ นั่งก าหนด ๔ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์ ๑๐๑ ๓๑๑ พระพุทธศาสนามหายาน ๓ (๓-๐-๖)
๐๐๐ ๓๕๕ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕ (๒)(๑-๒-๔) (Mahayana Buddhism)
(Buddhist Meditation V) ศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของมหายานในอินเดีย การเผยแผ่มหายานเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ
ศึกษาหลักการและวิธีการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐาน ตามแนวธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานในมหา หลักธรรม พิธีกรรม และนิกายส าคัญของมหายาน
สติปัฏฐานสูตร กระบวนการเกิดดับของรูปนามตามแนวปฏิจจสมุปบาท หลักธรรมที่ควรรู้ ได้แก่ โพธิปักขิย
ธรรม ๓๗ ฝึกปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานโดยการเดินจงกรม ๕ ระยะ นั่งก าหนด ๕ ระยะ ส่งและสอบอารมณ์