Page 46 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 46

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๓๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๓๕  35


 ๑๐๑ ๔๑๓    พุทธศิลปะ                         ๓ (๓-๐-๖)   ๑๐๑ ๓๑๙    ศึกษาศาสตร์ในพระไตรปิฎก                   ๒ (๒-๐-๔)
       (Buddhist Arts)          (Education in Tipitaka)

       ศึกษาพัฒนาการของพุทธศิลปะในอินเดีย และคลื่นพระพุทธศาสนาที่เข้าสู่ประเทศไทย                          ศึกษาความหมายและขอบข่ายของศึกษาศาสตร์ ทฤษฎีทางศึกษาศาสตร์ หลักธรรมส าคัญใน
 ซึ่งสัมพันธ์กับสกุลศิลปะสมัยต่าง ๆ จนเกิดเป็นสกุลศิลปะในประเทศไทย ทั้งด้านประติมากรรม จิตรกรรม และ  พระไตรปิฎกทีเกี่ยวกับการศึกษา บูรณาการโดยเน้นเป้าหมายของการศึกษาตามไตรสิกขา กระบวนการจัดการ
 สถาปัตยกรรม ปรัชญาธรรมทางวัตถุและความงามจากพุทธศิลปะสมัยต่าง ๆ ในประเทศไทย  โดยอาศัยพุทธ  ศึกษาแบบกัลยาณมิตร และโยนิโสมนสิการ วิธีสอนของพระพุทธเจ้า คุณธรรมและจริยธรรมของครู
 ลักษณะ           ๑๐๑ ๓๒๑       ชาดกศึกษา                                                        ๒ (๒-๐-๔)
 ๑๐๑ ๔๑๔    ธรรมะภาคภาษาอังกฤษชั้นสูง                  ๓ (๓-๐-๖)         (Jataka Studies)

       (Dhamma in Advance English)         ศึกษาโครงสร้าง เนื้อหา และแนวคิดที่ปรากฎในชาดก อิทธิพลของชาดกที่มีต่อวรรณกรรม
       ศึกษาหนังสือธรรมะที่ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาได้รจนาไว้เป็นภาษาอังกฤษตามที่  ทางพระพุทธศาสนา ศิลปะ และวิถีชีวิต
 ก าหนดให้        ๑๐๑ ๓๒๒       พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย                                      ๒ (๒-๐-๔)

 ๑๐๑ ๔๑๕    จิตวิทยาในพระไตรปิฎก                    ๓ (๓-๐-๖)         (Buddhism and Thai Thoughts)
       (Psychology in Tipitaka)         ศึกษาภูมิปัญญาไทยที่ได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนาในด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง
       ศึกษาค าสอนเรื่องจิตและเจตสิกในพระไตรปิฎก เปรียบเทียบกับเรื่องจิตวิทยาตะวันตก  และศิลปวัฒนธรรม
 ปัจจุบัน พฤติกรรมของมนุษย์ตามแนวจริต ๖ และการพัฒนาจิตด้วยสมถะและวิปัสสนา   ๑๐๑ ๓๒๓    พระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน                  ๒ (๒-๐-๔)

 ๑๐๑ ๔๑๖    ศึกษาอิสระทางพระพุทธศาสนา                 ๓ (๐-๖-๖)         (Buddhism in Temporary World)
       (Independent Study on Buddhism)         ศึกษาสถานการณ์ของพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน ผลกระทบของลัทธิการเมืองและศาสนา
       ศึกษาค้นคว้าวิจัยอิสระที่สามารถประยุกต์ใช้ในกิจการทางพระพุทธศาสนา โดยความ  อื่น ๆ ต่อพระพุทธศาสนา อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่อสังคมโลก และบทบาทขององค์การ
 เห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา   พระพุทธศาสนาระดับนานาชาติ

 ๑๐๑ ๔๑๗    สัมมนาพระพุทธศาสนา                    ๓ (๓-๐-๖)   ๑๐๑ ๓๒๔    ชีวิตและผลงานของปราชญ์ทางพระพุทธศาสนา            ๒ (๒-๐-๔)
       (Seminar on Buddhism)         (Life and Works of Buddhist Scholars)
       ศึกษาแนวคิด รูปแบบ วิธีการและด าเนินการสัมมนาปัญหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาใน        ศึกษาชีวประวัติและผลงานด้านการรจนาและแปลหนังสือ ต าราและคัมภีร์พระพุทธศาสนา
 ประเด็นต่าง ๆ  โดยเสนอผลงานการค้นคว้าและรายงานประกอบการสัมมนา   ของนักปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน

                  ๑๐๑ ๔๐๓       พระพุทธศาสนากับนิเวศวิทยา                                        ๒ (๒-๐-๔)
       ๓) วิชาเฉพาะด้านพระพุทธศาสนา  ๓๒  หน่วยกิต         (Buddhism and Ecology)
 ๑๐๑ ๓๐๑    พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์                 ๒ (๒-๐-๔)         ศึกษาความหมายและขอบข่ายของนิเวศวิทยา หลักธรรมส าคัญในพระไตรปิฎกที่เกี่ยวกับ

       (Buddhism and Science)   นิเวศวิทยา เน้นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับระบบนิเวศ มนุษย์กับธรรมชาติ แนวทางการอนุรักษ์และระบบ
       ศึกษาความหมาย ลักษณะ ขอบข่าย และวิธีการแสวงหาความจริงของพระพุทธศาสนากับ  นิเวศวิทยา
 วิทยาศาสตร์  โดยสามารถศึกษาวิเคราะห์ทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีสัมพัทธภาพ ทฤษฎีควอนตัมฟิสิกส์ และ  ๑๐๑ ๔๐๔    ธรรมประยุกต์                        ๒ (๒-๐-๔)
 ทัศนะของนักวิทยาศาสตร์ที่มีต่อพระพุทธศาสนา รวมทั้งเข้าใจถึงผลกระทบทางวิทยาศาสตร์ที่มีต่อโลกและ        (Applied Dhamma)
 พระพุทธศาสนา                   ศึกษาหลักธรรมในพระพุทธศาสนา เพื่อน ามาประยุกต์ใช้และบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพ

 ๑๐๑ ๓๐๒    พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์                ๒ (๒-๐-๔)   ชีวิต แก้ปัญหาชีวิตและสังคม
       (Buddhism and Social Works)   ๑๐๑ ๔๐๕    พระพุทธศาสนากับเศรษฐศาสตร์                        ๒ (๒-๐-๔)
       ศึกษาความหมาย และขอบข่ายของสังคมสงเคราะห์ หลักการ รูปแบบ และวิธีการสังคม        (Buddhism and Economics)

 สงเคราะห์ในพระไตรปิฎก เน้นพระจริยาของพระพุทธเจ้า บทบาทและความส าคัญของพระสงฆ์ในการสังคม        ศึกษาความหมายและขอบข่ายของเศรษฐศาสตร์ วิเคราะห์แนวคิดและทฤษฎีหลักทาง
 สงเคราะห์        เศรษฐศาสตร์ จริยธรรมของผู้ผลิตและผู้บริโภคตามแนวหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา เปรียบเทียบ
                  เศรษฐศาสตร์แนวพุทธศาสตร์กับเศรษฐศาสตร์ทั่วไป รวมทั้งศึกษาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51