Page 41 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 41

30  | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
                  ๓๐                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  พระพุทธศาสนา ถอดบทเรียนภาวะผู้น าของบุคคลส าคัญ  ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาองค์กรทั้งในประเทศและ
                  ระดับโลก ที่สามารถน าองค์กรไปสู่ความส าเร็จและเกิดสันติสุขแก่สังคมและชุมชนทั้งในประเทศและระดับโลก

                  ๐๐๐ ๒๖๖       หลักธรรมาภิบาล                                                   ๒ (๒-๐-๔)
                                (Good Governance)
                                ศึกษาความหมาย องค์ประกอบ ความส าคัญของหลักธรรมาภิบาล ๖ ประการ คือ หลักนิติ
                  ธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส หลักความมีส่วนร่วม หลักความรับผิดชอบ และหลักความคุ้มค่า


                                ๒. หมวดวิชาเฉพาะ
                                ๑) วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา จ านวน ๓๐ หน่วยกิต
                                ก. กลุ่มวิชาภาษาบาลีและพระพุทธศาสนา ๑๔ หน่วยกิต

                  ๐๐๐ ๑๔๔       วรรณคดีบาลี                                                      ๒ (๒-๐-๔)
                                (Pali Literature)
                                ศึกษาประวัติ ความหมาย ประเภทและพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา
                  อนุฎีกา โยชนา และปกรณ์วิเสส วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย และคุณค่าของวรรณกรรมบาลีต่อสังคมไทย

                  ๐๐๐ ๑๔๕       บาลีไวยากรณ์                                                     ๒ (๒-๐-๔)
                                (Pali Grammar)
                                ศึกษาการเขียน การอ่านภาษาบาลี ฐานกรณ์ การออกเสียงพยัญชนะสังโยค การเชื่อมอักษร
                  ด้วยสนธิกิริโยปกรณ์ ประเภทและวิธีแจกค านามสังขยา อัพยยศัพท์ กิริยาอาขยาต นามกิตก์ กิริยากิตก์ สมาส

                  และตัทธิต
                  ๐๐๐ ๑๔๖       แต่งแปลบาลี                                                      ๒ (๒-๐-๔)
                                (Pali Composition and Translation)
                                ศึกษาการแต่งบาลี การแปลบาลีทั้งโดยอรรถและโดยพยัญชนะให้ถูกต้องตามหลักภาษา

                  การแต่งและการแปลประโยคพิเศษและส านวนที่ควรทราบ การแปลบาลีเป็นไทย  และแปลไทยเป็นบาลีจาก
                  หนังสือที่ก าหนด
                  ๐๐๐ ๑๔๗       พระไตรปิฎกศึกษา                                                  ๒ (๒-๐-๔)

                                (Tipitaka Studies)
                                ศึกษาก าเนิด ความเป็นมา และพัฒนาการของคัมภีร์พระไตรปิฎก การจ าแนกโครงสร้างและ
                  เนื้อหาสาระพระไตรปิฎก ค าอธิบายโดยย่อของพระอรรถกถาจารย์ การรักษาสืบทอดโดยมุขปาฐะและลาย
                  ลักษณ์อักษร ล าดับคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ในประเทศไทย และประโยชน์ที่
                  ได้รับจากการศึกษาพระไตรปิฎก

                  ๐๐๐ ๑๔๘       พระวินัยปิฎก                                                     ๒ (๒-๐-๔)
                                (Vinaya Pitaka)
                                ศึกษาประวัติ ความเป็นมา ความหมาย โครงสร้างของพระวินัยปิฎก เลือกศึกษาวิเคราะห์

                  เนื้อหาสาระที่ส าคัญในคัมภีร์มหาวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์ มหาวรรค จุลวรรค และปริวาร โดยอาศัยอรรถกถาและ
                  ฎีกาประกอบ และประโยชน์ที่ได้รับจากการศึกษาพระวินัยปิฎก
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46