Page 40 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 40

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๒๘                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๒๙  29


 ทักทาย ขอบคุณ ขอโทษ ขออนุญาต แนะน าตัวเอง แนะน าผู้อื่น บอกชื่อสิ่งของที่ใช้ในชีวิตประจ าวัน สนทนา  ๐๐๐ ๒๑๒    มนุษย์กับอารยธรรม                     ๒ (๒-๐-๔)
 ได้ทั้งค าที่แสดงความหมายรูปธรรมและนามธรรม         (Man and Civilization)

 ๐๐๐ ๑๒๑    ภาษาไทยชั้นสูง                       ๒ (๒-๐-๔)         ศึกษาความเป็นมาและพัฒนาการของมนุษย์ ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์จนถึงสมัยปัจจุบัน
       (Advanced Thai)   ความหมายของอารยธรรม บ่อเกิดและพัฒนาการของอารยธรรมตะวันออกและตะวันตกในยุคต่างๆ
       ศึกษาวิเคราะห์หน่วยเสียงพยัญชนะ หน่วยเสียงสระ หน่วยเสียงวรรณยุกต์ หน่วยค า ระบบ  ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของสังคมตะวันออกและตะวันตก ที่ก่อให้เกิด
 ไวยากรณ์ ความหมายในภาษาไทย ฝึกทักษะการฟังข่าวจากวิทยุ โทรทัศน์ การพูดวาทศิลป์ การอ่าน  ผลกระทบแลความคิดสร้างสรรค์ในรูปแบบต่างๆ การแลกเปลี่ยนกันระหว่างอารยธรรมตะวันออกกับตะวันตก
 หนังสือพิมพ์และต าราวิชาการ การเขียนบทความ และฝึกแต่งกาพย์ กลอน โคลง ฉันท์ในภาษาไทย   และอิทธิพลของอารยธรรมทั้งสองที่มีต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน

 ๐๐๐ ๑๒๘    ภาษาจีนเบื้องต้น                      ๒ (๒-๐-๔)   ๐๐๐ ๒๑๓    ชีวิตกับจิตวิทยา                      ๒ (๒-๐-๔)
       (Basic Chinese)          (Life and Psychology)
       ศึกษาโครงสร้างของภาษาจีนในเรื่องระบบเสียง ระบบค า และระบบประโยค ฝึกการอ่าน         ศึกษาพัฒนาการและองค์ประกอบของชีวิต ความสัมพันธ์ของจิตวิทยากับการด ารงชีวิต

 การเขียนภาษาจีน และการฝึกสนทนา โดยอาศัยข้อมูลจากสถานการณ์ปัจจุบัน   วิเคราะห์คุณสมบัติของจิตใจลักษณะต่างๆ ผลของสุขภาพจิตที่มีต่อพฤติกรรมของมนุษย์และการด ารงอยู่
 ๐๐๐ ๑๒๙    ภาษาจีนชั้นสูง                       ๒ (๒-๐-๔)   ร่วมกันในสังคมและสิ่งแวดล้อม
       (Advanced Chinese)   ๐๐๐ ๒๔๑    วิทยาศาสตร์กายภาพและประยุกตวิทยา                          ๒ (๒-๐-๔)
       ฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาจีน เน้นการสนทนา โดยอาศัยข้อมูลจาก        (Physical Science and Technology)

 สถานการณ์ปัจจุบัน              ศึกษาหลักพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ประวัติและผลงานของนักวิทยาศาสตร์ในยุคสมัยต่างๆ
 ๐๐๐ ๑๓๐    ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น                      ๒ (๒-๐-๔)   ความคิดเกี่ยวกับเอกภพ ระบบสุริยะ เทคโนโลยี เทคโนโลยีทางการเกษตร เทคโนโลยีอุตสาหกรรม การลด
       (Basic Japanese)   ต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลผลิต การขนส่ง การสื่อสาร เทคโนโลยีภูมิปัญญาไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น
       ศึกษาโครงสร้างของภาษาญี่ปุ่น ในเรื่องระบบเสียง ระบบค า และระบบประโยค ฝึกการอ่าน   วิทยาศาสตร์กับชีวิตประจ าวัน พระพุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์

 เขียนภาษาญี่ปุ่น และการสนทนา โดยอาศัยข้อมูลจากสถานการณ์ปัจจุบัน   ๐๐๐ ๒๔๒    พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ            ๒ (๒-๐-๔)
 ๐๐๐ ๑๓๑    ภาษาญี่ปุ่นชั้นสูง                      ๒ (๒-๐-๔)         (Introduction to Computer and Information Technology)
       (Advanced Japanese)         ศึกษาบทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประวัติของคอมพิวเตอร์และการ
       ฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาญี่ปุ่น เน้นการสนทนา โดยอาศัยข้อมูลจาก  สื่อสารองค์ประกอบของคอมพิวเตอร์ ระบบดิจิทัล ภาษาคอมพิวเตอร์ ซอฟต์แวร์ประเภทต่างๆ แพลตฟอร์ม

 สถานการณ์ปัจจุบัน   คอมพิวเตอร์ ระบบการประมวลผล การวิเคราะห์ออกแบบและพัฒนาระบบ ข้อมูลและการบริหารข้อมูล
 ๐๐๐ ๑๓๕    ภาษาฮินดีเบื้องต้น                      ๒ (๒-๐-๔)   เครือข่ายและการสื่อสาร อินเทอร์เน็ต และเวิลด์ไวด์เว็บ ภัยคุกคามและความมั่นคงของระบบจริยธรรมและ
       (Basic Hindi)   สังคมไซเบอร์

       ศึกษาโครงสร้างของภาษาฮินดี ในเรื่องระบบเสียง ระบบค าและระบบประโยค ฝึกการฟัง   ๐๐๐ ๒๖๔    สันติศึกษา                         ๒ (๒-๐-๔)
 อ่านเขียนสนทนาภาษาฮินดี และระบบไวยากรณ์พื้นฐานที่นิยมใช้ในชีวิตประจ าวัน         (Peace Education)
 ๐๐๐ ๑๓๖    ภาษาฮินดีชั้นสูง                      ๒ (๒-๐-๔)         ศึกษาแนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง ความรุนแรง สันติภาพและปฏิบัติการจัดการ
       (Advanced Hindi)   ความขัดแย้งโดยสันติวิธี ซึ่งประกอบด้วยแนวคิดและแนวปฏิบัติของนักสันติวิธีทั้งตะวันออก ตะวันตก และ
       ฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาฮินดี เน้นการสนทนา โดยอาศัยข้อมูลจาก  ศาสนาต่างๆ เพื่อให้เกิดความรู้และความเข้าใจในการป้องกันแก้ไข และเปลี่ยนผ่านความขัดแย้งและความ

 สถานการณ์ปัจจุบัน   รุนแรง อีกทั้งพัฒนาทักษะในกระบวนการการเสริมสร้างความปรองดอง ให้เกิดขึ้นในสังคมพหุวัฒนธรรมและมี
 ๐๐๐ ๒๑๑    วัฒนธรรมไทย                        ๒ (๒-๐-๔)   ขันติธรรมในการฟังและอยู่ร่วมกับศาสนาและชาติพันธุ์ต่างๆ อย่างสันติสุข
       (Thai Culture)   ๐๐๐ ๒๖๕    ภาวะผู้น า                                                    ๒ (๒-๐-๔)

       ศึกษาความหมายและเนื้อหาของวัฒนธรรม พัฒนาการของวัฒนธรรมไทย ประเภทของ        (Leadership)
 วัฒนธรรมพระพุทธศาสนากับวัฒนธรรม การอนุรักษ์ การเผยแพร่และสร้างสรรค์วัฒนธรรมไทย วัฒนธรรมไทย        ศึกษาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้น าที่น าการเปลี่ยนแปลงและสร้างสรรค์งานในศตวรรษที่
 กับการพัฒนาผลกระทบของวัฒนธรรมต่างชาติต่อวัฒนธรรมไทย   ๒๑ รวมถึงศึกษาคุณลักษณะและบทบาทของผู้น ากับการใช้การสื่อสารที่เอื้ออาทร ผู้น ากับความเห็นที่ถูกต้องดี
                  งามและความเปลี่ยนแปลงที่สร้างสรรค์คุณธรรมและจริยธรรมของผู้น า วิสัยทัศน์ผู้น า ผู้น ากับการสร้าง

                  ความสัมพันธ์แห่งกรุณาโดยอาศัยองค์ความรู้  ภาวะผู้น าตามทฤษฎีตะวันตกและภาวะผู้น าในทาง
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45