Page 76 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 76

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๖๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๖๕  65


 ๒๐๓ ๔๔๒    เศรษฐกิจไทยกับเศรษฐกิจโลก                  ๒ (๒-๐-๔)    หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
       (Thai and Global Economy)   สาขาวิชาสังคมศึกษา (๔ ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒

       ศึกษาความหมาย ลักษณะ กระแสโลกาภิวัตน์กับการเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจ
 ความสัมพันธ์ของระบบการค้า การเงิน เศรษฐกิจโลกต่อประเทศไทย การรวมตัวทางเศรษฐกิจของยุโรป (EU)   ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
 อเมริกา (NAFTA) เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) พัฒนาการทางเศรษฐกิจของประเทศไทย การปรับ     รหัสหลักสูตร   :    ๒๕๕๐๑๘๕๑๑๐๐๓๒๖
 โครงสร้างทางธุรกิจและแนวโน้มในอนาคต FTA การเจรจาพหุภาคี ทวิภาคี และผลกระทบการค้าระหว่าง     ภาษาไทย    :    หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
 ประเทศ                  ภาษาอังกฤษ   :        Bachelor of Education Program in Social Studies

       กลุ่มวิชาศาสนาและปรัชญา
 ๒๐๓ ๔๔๓    ศิลปกรรมในพระพุทธศาสนา                  ๓ (๓-๐-๖)    ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
       (Arts in Buddhism)      ชื่อเต็ม (ไทย)   :    ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)

       แนวคิด หลักการ ความส าคัญของศิลปกรรมในด้านสถาปัตยกรรม จิตรกรรม ประติมากรรม      ชื่อย่อ (ไทย)   :    ค.บ. (สังคมศึกษา)
 นาฏศิลป์ วรรณศิลป์ ความสัมพันธ์กับพระพุทธศาสนา ความสัมพันธ์เกี่ยวกับวิถีชีวิตของสังคมไทยและแนว       ชื่อเต็ม (อังกฤษ) :    Bachelor of Education in Social Studies
                                               B.Ed. (Social Studies)
                         ชื่อย่อ (อังกฤษ)  :
 ทางการอนุรักษ์ศิลปกรรม ศึกษาภาคสนามเกี่ยวกับโบราณสถาน และโบราณวัตถุทางพระพุทธศาสนาที่มี
 คุณค่าทางศิลปกรรมและวัฒนธรรม   ๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร

 ๒๐๓ ๔๔๔    พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน               ๓ (๓-๐-๖)      เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการเรียนรู้สังคมศึกษา และน าความรู้
       (Buddhism and Current Situations)   ทางพุทธศาสตร์และสังคมศึกษา มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมแก่นิสิต โดยการจัดการเรียนการ
       สถานการณ์ปัจจุบันของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยและในโลก โดยศึกษาวิเคราะห์  สอนทั้งภาคทฤษฎี ปฏิบัติ และวิชาชีพ เพื่อการท างานร่วมกับผู้อื่น และถ่ายทอดวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ

 บทบาทและสถานภาพของพระพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน บทบาทหน้าที่ขององค์การและบุคลากร
 พระพุทธศาสนา การตีความหลักธรรมค าสอนของพระพุทธศาสนา ปัญหา สาเหตุ และวิธีการแก้ไขปัญหาที่  ๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 เกิดขึ้นในวงการพระพุทธศาสนา ปัญหาภายนอกที่มีผลกระทบต่อความเจริญและความเสื่อมของ     เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษาให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
 พระพุทธศาสนา บทบาทและคุณูปการของพระพุทธศาสนาในการแก้ไขปัญหาส าคัญๆ ในประเทศไทยและ                 ๑. เป็นครูสังคมศึกษาที่ด ารงตนให้มี ตามหลักกัลยาณมิตรธรรม พรหมวิหารธรรม ศีลธรรม และ
 ในโลก            จรรยาบรรณวิชาชีพครู

                         ๒. มีความรอบรู้ด้านสังคมศึกษาอย่างบูรณาการ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าองค์
 ๒๐๓ ๔๔๕    ศาสนาสัมพันธ์                       ๒ (๒-๐-๔)    ความรู้ และน าไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานวิชาชีพครูอย่างมีประสิทธิภาพ
       (Comparative Religions)      ๓. สามารถประยุกต์องค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางสังคมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิชาชีพ
       ประวัติ หลักค าสอน เป้าหมาย วิธีการ โดยการศึกษาเปรียบเทียบศาสนาต่างๆ เพื่อให้เข้าใจ  คุณภาพชีวิต และสังคมได้อย่างเหมาะสม

 ในศาสนาต่างๆ ด้านหลักค าสอน หลักปฏิบัติและแนวทางในการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข      ๔. มีจิตสาธารณะ สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนและสังคมตาม
 ๒๐๓ ๔๔๖    พุทธธรรมกับชีวิต                      ๒ (๒-๐-๔)    จรรยาบรรณวิชาชีพ
       (Ethics and Life)      ๕. มีทักษะการวิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดข้อมูลข่าวสารด้านสังคมศึกษา การสื่อสารและ
       ความหมายของจริยธรรม จริยธรรมกับมนุษย์ จริยธรรมกับการด ารงชีวิต วิธีการแห่งปัญญา  เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา

 ในการพัฒนาตนเองในด้านคุณธรรม หลักการของจริยธรรมไปปรับใช้ในการด าเนินชีวิตที่ถูกต้อง มีความมั่นคง      ๖. สามารถพัฒนารูปแบบการสอน การออกแบบการสอน และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการ
 และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข   จัดการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา

                  ๕. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร

 ๙. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา      ๑. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒ ปรับปรุงจากหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๖๑ เปิดสอนภาคการศึกษาที่ ๑
    ผู้ที่จบการศึกษาระดับปริญญาตรีหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา สามารถท างานได้  ปีการศึกษา ๒๕๖๒
 ทั้งภาครัฐและเอกชน ดังนี้ ครูสอนสังคมศึกษา และวิชาที่เกี่ยวข้องกับสัมพันธ์กัน ครูสอนสังคมศึกษาทั้งใน     ๒. สภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นชอบหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่

 หน่วยงานราชการและเอกชน อาชีพด้านการบริการสังคมในหน่วยงานของรัฐและเอกชน อาชีพเจ้าหน้าที่  ๔/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
 พัฒนาสังคม/สังคมสงเคราะห์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ อาชีพอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับครุศาสตร์และ     ๓. สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๒
 สังคมศาสตร์      เมื่อวันที่ ๓๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81