Page 118 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 118
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 109
๑๐๘ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๑๐๙
๒๑๐ ๓๐๒ พื้นฐานภาษาบาลี ๓ (๒-๒-๕) หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต
Basic Pali Language
ศึกษาความเป็นมาและความส าคัญของภาษาบาลี ภาษาบาลีหรือสันสกฤตในภาษาไทย พระปริยัติ สาขาวิชา การสอนสังคมศึกษา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒
ธรรมแผนกบาลีของคณะสงฆ์ หลักบาลีไวยากรณ์ การอ่าน การพูด การเขียน และการแปลภาษาบาลี การแปล
บทสวดมนต์ต่างๆ การประยุกต์ใช้ภาษาบาลีในชีวิตประจ าวัน ๑. ชื่อหลักสูตร
๒๑๐ ๓๐๓ การบริหารสถานศึกษาสู่ความเป็นเลิศ ๓ (๒-๒-๕) ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา
School Administration for Excellence ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Master of Education in Teaching Social Studies
ศึกษาหลักการบริหารการศึกษา พุทธวิธีบริหารการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธชั้นน า นโยบายและ
แผนการจัดการศึกษา ตัวชี้วัดการพัฒนาสู่ความเป็นเลิศ การบริหารองค์กรทางการศึกษาของไทย การ ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
จัดระบบบริหารงานภายในสถานศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการบริหารการศึกษายุคใหม่ การตั้งเป้าหมาย
และการด าเนินงานตามแผน การติดตามประเมินผลการด าเนินงาน การประกันคุณภาพการศึกษา ชื่อเต็มภาษาไทย : ครุศาสตรมหาบัณฑิต (การสอนสังคมศึกษา)
๒๑๐ ๓๐๔ การวิจัยแบบผสานวิธี ๓ (๒-๒-๕) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Education (Teaching Social Studies)
Mixed Methodology Research ชื่อย่อภาษาไทย : ค.ม. (การสอนสังคมศึกษา)
ศึกษาแนวคิดทฤษฎีการวิจัยแบบผสานวิธี พุทธวิธีการวิจัย กรอบความคิดพื้นฐานของการวิจัยแบบ ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.Ed. (Teaching Social Studies)
ผสานวิธี การก าหนดปัญหาการวิจัย การออกแบบการวิจัย การเก็บรวบรวมข้อมูล การแปลผลข้อมูล ข้อจ ากัด ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ของการวิจัยแบบผสานวิธี การวิจัยเชิงประวัติศาสตร์ การวิจัยและพัฒนา การสนทนากลุ่ม การปฏิบัติการแบบ หลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
มีส่วนร่วม การเขียนและวางแผนการวิจัยแบบผสานวิธี การฝึกปฏิบัติภาคสนาม เทคนิคการวิจัยใหม่ ๆ ฝึก บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
ปฏิบัติด้านการวิจัยแบบผสานวิธี
๒๑๐ ๓๐๕ การบริหารสู่ความเป็นโรงเรียนวิถีพุทธ ๓ (๒-๒-๕) ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
Buddhist School Administration
ศึกษาหลักการบริหารโรงเรียนวิถีพุทธ การบริหารงานบุคคล งานวิชาการ การเงิน และพัสดุ อาคาร ปรัชญาของหลักสูตร
สถานที่ กิจการ และกิจกรรมนักเรียน การสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับวัดและชุมชน วิเคราะห์ มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีองค์ความรู้ในเชิงลึกและกว้างด้านสังคมศึกษา เพื่อบูรณาการความรู้ เนื้อหาวิชา
ตัวชี้วัดการด าเนินงานโรงเรียนวิถีพุทธ ปัจจัยและกระบวนการพัฒนาสู่เป้าหมาย ปัญหาอุปสรรคและ หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ สามารถน าไปประยุกต์ใช้ในการสอน
ผลกระทบ การติดตามและประเมินผล บูรณาการพุทธธรรมกับการบริหารโรงเรียน สังคมศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพโดยให้มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรมบนพื้นฐานแห่งหลักธรรมใน
๒๑๐ ๓๐๖ การศึกษาอิสระทางพุทธบริหารการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) พระพุทธศาสนา
Independent Studies in Buddhist Educational Administration วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ศึกษาการเขียนโครงการวิจัยหรือโครงการสัมมนา โดยศึกษาเกี่ยวกับการบริหารการศึกษาตาม ๑. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตวิชาชีพที่มีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร ออกแบบ และจัดระบบการ
ประเด็นที่เกี่ยวข้องเรื่องใดเรื่องหนึ่งหรือหลายเรื่อง ดังนี้ หลักพุทธบริหารการศึกษา การวิจัยและการพัฒนา เรียนการสอนสังคมศึกษา
วิชาชีพ นโยบายหรือแผนการศึกษา ภาวะผู้น า ทักษะการบริหาร การนิเทศก์หรือแนะแนว การบริหารวิชาการ ๒. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้เป็นผู้ใฝ่รู้ ศึกษา ค้นคว้า วิจัย และสามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้อย่าง
พัฒนาหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การบริหารองค์กร/สถานศึกษา บริหารงานบุคคล งบประมาณ มีประสิทธิภาพ
ธุรการ และพัสดุ เทคนิคการสอน สื่อการสอน และนวัตกรรมทางการศึกษา กิจกรรมนักเรียน และการวัด ๓. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีเหตุผล รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคม สามารถ
ประเมินผลการเรียนรู้ ทรัพยากรสนับสนุนการศึกษาและความสัมพันธ์กับชุมชน คุณธรรมจริยธรรมและ บูรณาการพระพุทธศาสนากับการสอนสังคมศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
จรรยาบรรณวิชาชีพ การประกันคุณภาพการศึกษา ๔. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตวิชาชีพให้มีความสามารถในการสอนสังคมศึกษา
(๔) วิทยานิพนธ์
๒๑๐ ๔๐๑ วิทยานิพนธ์ ๑๒ (๐-๔๕-๐)
Thesis