Page 126 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 126
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 117
๑๑๖ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๑๑๗
๒๐๐ ๒๐๔ จิตวิทยาส าหรับครู (๓) (๒-๒-๕)
ข. วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต จ านวน ๙ หน่วยกิต
๒๓๐ ๒๐๔ กรรมฐาน (๓) (๓-๐-๖) Psychology for Teachers
Buddhist Meditation ประยุกต์ใช้จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาให้ค าปรึกษาในการวิเคราะห์และ
ศึกษาหลักสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐานที่ปรากฏในคัมภีร์พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา อนุ พัฒนาผู้เรียน ความแตกต่างระหว่างบุคคล ปัจจัยที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ การจูงใจผู้เรียน บริการแนะแนวใน
ฎีกา และปกรณ์วิเสส รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของส านักต่างๆ ในสังคมไทย โดยเน้นศึกษาอารมณ์ สถานศึกษา จิตวิทยาในการให้ค าปรึกษา จรรยาบรรณของผู้แนะแนว การใช้จิตวิทยาเพื่อส่งเสริมและ
ของสมถกรรมฐานและวิปัสสนากรรมฐาน ล าดับขั้นตอนของการเจริญกรรมฐาน และผลที่เกิดจากการเจริญ สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้เหมาะสมกับพัฒนาการตามวัย ความสามารถทางสมอง แบบการเรียนรู้
กรรมฐาน ได้แก่ สมาบัติ ๘ และวิปัสสนาญาณ ๑๖ เป็นต้น และความถนัด
๒๓๐ ๒๐๕ ภาษาอังกฤษส าหรับการสอนสังคมศึกษา (๓)(๓-๐-๖) (๒) หมวดวิชาเอก ไม่น้อยกว่า ๑๒ หน่วยกิต
English for Teaching Social Studies ๖๒๓ ๑๐๗ การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษา ๓ (๑-๔-๖)
สามารถใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร และใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการศึกษา ให้เกิดความช านาญ ๔ Development of Curriculum on Social Studies
ด้าน คือ ด้านการเขียน การพูด การอ่าน การฟัง และเน้นศัพท์เทคนิคทางการสอนสังคมศึกษา ในด้านการ พัฒนาหลักสูตรการจัดการเรียนรู้ สื่อ การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ศึกษาวิเคราะห์หลักสูตรและ
สอน การวิจัยทางสังคมศึกษา ตลอดถึงหลักค าสอนในพระพุทธศาสนา เช่น ศีล ๕ พระรัตนตรัย ไตรลักษณ์ การเรียนการสอนวิชาสังคมศึกษาในปัจจุบัน การพัฒนาหลักสูตรสังคมศึกษา การออกแบบและการจัด
ไตรสิกขา อริยสัจ ๔ มรรคมีองค์ ๘ เป็นต้น ประสบการณ์การเรียนรู้เชิงบูรณาการในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การน านวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษามา
๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ (๓)(๓-๐-๖) ใช้เพื่อปรับปรุงหลักสูตรและการน าความรู้ไปใช้
Tipitaka Analysis ๖๒๓ ๒๐๘ การพัฒนานวัตกรรมการเรียนการสอนสังคมศึกษา ๓ (๑-๔-๖)
สาระและพัฒนาการของการรวบรวมพระธรรมวินัยเป็นพระไตรปิฎก โครงสร้าง และสาระสังเขปของ Instructional Design in Social Studies
พระไตรปิฎก วิเคราะห์หลักธรรมส าคัญที่เป็นจุดหมายสูงสุด หลักธรรมที่ประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิตเพื่อการ วางแผนการจัดการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด มีความเป็นนวัตกรรมทางการศึกษา
อยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคม การออกแบบการจัดการเรียนรู้บนพื้นฐานนวัตกรรมทางการศึกษา การพัฒนานวัตกรรมการศึกษา เทคโนโลยี
ส าหรับนิสิตที่ไม่เคยศึกษาสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษาหรือไม่เคยเรียนรายวิชาที่เกี่ยวข้องกับ ทางการศึกษาเพื่อการประยุกต์ใช้เหมาะสมกับพัฒนาการของผู้เรียน
สาขาวิชานี้มาก่อน ให้ศึกษารายวิชาเพิ่มเติมต่อไปนี้ ๖๒๓ ๒๐๙ พัฒนาการของสังคมไทย ๓ (๓-๐-๖)
๖๒๓ ๑๐๖ พื้นฐานทางการสอนสังคมศึกษา (๓)(๓-๐-๖) Development of Thai Society
Fundamental Principles of Teaching Social Studies ส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาท้องถิ่น ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม ศาสนา เศรษฐกิจ
ศึกษา วิเคราะห์แนวคิดพื้นฐานและหลักการที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษา การเมืองการปกครอง และสภาพภูมิศาสตร์เพื่อใช้เป็นมโนทัศน์พื้นฐานในการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษา
องค์ประกอบและขั้นตอนการออกแบบ การประยุกต์ใช้ในสภาพการต่างๆ อย่างบูรณาการ รวมทั้งฝึก ให้เหมาะสมกับผู้เรียน
ปฏิบัติการออกแบบการเรียนการสอนสังคมศึกษา ตลอดจนทดลองใช้และการประเมินประสิทธิภาพ ๖๒๓ ๒๑๐ การวางแผนเชิงกลยุทธ์การสอนสังคมศึกษา ๓ (๓-๐-๖)
๒๐๓ ๒๐๔ การพัฒนาสังคมวิทยาการศึกษา (๓)(๓-๐-๖) (Strategy Planning in Teaching Social Studies)
Development Sociology of Education บูรณาการความรู้ เนื้อหาวิชา หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้
พัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้ ทันสมัยและและทันต่อการเปลี่ยนของโลก สังคมวิทยาและ การวางแผลเชิงกลยุทธ์การสอนสังคมศึกษา การวิเคราะห์จัดการศึกษา องค์ประกอบการสอน การสอน
มานุษยวิทยา การจัดระเบียบทางสังคม กลุ่มทางสังคมและวัฒนธรรม กระบวนการทางสังคม การจัดล าดับชั้น รูปแบบต่าง ๆ และเทคนิคการสอนตามพุทธวิธีของพระพุทธศาสนา
ทางสังคม สถาบัน และบทบาททางสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม กลุ่มชาติพันธุ์ พฤติกรรม ๖๒๓ ๓๑๑ สัมมนาปัญหาการสอนสังคมศึกษา ๓ (๑-๔-๖)
การอยู่ร่วมกัน ปัญหาสังคมและแนวทางแก้ไข ความจ าเป็นของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา สร้างแรงบันดาล Seminar in Social Studies
ใจ และพัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ และสร้างนวัตกรรมส าหรับการเรียนการสอน ศึกษาวิเคราะห์ และอภิปรายสภาพและปัญหาหลักสูตรและการจัดการเรียนการสอนสังคมศึกษาใน
ปัจจุบัน แนวคิดและนวัตกรรมทางการเรียนการสอนสังคมศึกษา การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้ตาม
สภาพจริง ศึกษาเข้าถึงบริบทชุมชน และสามารถอยู่ร่วมกันบนพื้นฐานความแตกต่างทางวัฒนธรรม วิเคราะห์
และพัฒนาการใช้สื่อทางสังคมศึกษา