Page 130 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 130
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 121
๑๒๐ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๑๒๑
พระพรหมบัณฑิต, ศ.ดร. เจ้าอาวาสวัดประยุรวงศาวาส รักษาการเจ้าคณะใหญ่หนกลาง
กรรมการมหาเถรสมาคม มีหลักคิดในการเผยแผ่ศาสนาที่เป็นนโยบายอย่างชัดเจน เรียกว่า “ธรรม หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.)
ประกาศโนบาย” หรือวิธีประกาศธรรม ๕ ข้อ เป็นนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาที่ท่านประยุกต์
มาจากพระพุทธพจน์ที่พระพุทธเจ้าทรงประทานให้แก่พระอรหันต์ ๖๐ รูป เพื่อไปท าหน้าที่พระธรรมทูต หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒
ในการออกไปประกาศพระพุทธศาสนา ประกอบกับประสบการณ์ของพระพรหมบัณฑิตในการท าหน้าที่
เผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในประเทศและต่างประเทศ ท่านจึงได้ตกผลึกทางความคิดจากพระพุทธพจน์ ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
และประสบการณ์ออกมาเป็นนโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้ง ๕ ข้อต่อไปนี้ ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
นโยบายข้อหนึ่งเรียกว่า “ตกปลานอกบ้าน” มาจากพุทธพจน์ของพระพุทธเจ้าที่ว่า “เธอ ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Master of Political Science Program
ทั้งหลายจงเที่ยวจาริกไป” หมายถึง การให้พระสงฆ์จาริกออกไปนอกวัดเพื่อน าคนเข้าหาธรรม กล่าวคือ
พระสงฆ์จะต้องไม่เทศน์เพียงแค่อยู่ในวัดเท่านั้น แต่จะต้องออกไปเทศน์ตามที่ต่าง ๆ เช่น โรงเรียน ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
โรงงาน บริษัทและสถานที่ราชการ ชื่อเต็มภาษาไทย : รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
นโยบายข้อที่สองคือ “ประสานสิบทิศ” หมายถึง ความสามารถในการท างานร่วมกับผู้อื่น ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Master of Political Science
รวบรวมคนที่มีความสามารถให้เข้ามาช่วยท างานด้านที่พระสงฆ์ไม่ถนัด และช่วยงานเผยแผ่ ชื่อย่อภาษาไทย : ร.ม.
พระพุทธศาสนาให้ก้าวหน้ามากยิ่งขึ้น เช่น ช่วยวางแผนงาน ช่วยท าสื่อเผยแพร่ค าสอน ช่วยแปลบท ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : M.Pol.Sc.
เทศนาเป็นภาษาต่างประเทศ อันเนื่องมาจากพระสงฆ์มีความสามารถและมีเวลาจ ากัด จึงต้องหาคน
เหล่านี้มาช่วยงานพระศาสนา ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
นโยบายข้อที่สามคือ “ผูกมิตรทั่วหล้า” หมายถึง ผู้ที่ท าหน้าที่เผยแผ่ศาสนาจะต้องผูกมิตรกับ หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
ผู้คนทั่วโลกเพราะมุ่งท าประโยชน์ให้ชาวโลก ผู้ที่ท าหน้าที่ในการเผยแผ่ศาสนาจะต้องมุ่งออกไปสร้าง บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น
มิตร ไม่ใช่การออกไปสร้างศัตรู ต้องผูกมิตรกับผู้คนให้มากซึ่งรวมไปถึงผู้น าศาสนาอื่น ๆ เช่นกัน การที่
พระสงฆ์ผูกมิตรกับผู้น าศาสนาอื่น ๆ จะช่วยให้เกิดความเข้าใจอันดีระหว่างศาสนา และอยู่ร่วมกันโดย ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ไม่เกิดความขัดแย้ง ปรัชญา และความส าคัญของหลักสูตร
หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต ก าหนดปรัชญาภายใต้ปรัชญามหาวิทยาลัย คือจัดการศึกษา
นโยบายข้อที่สี่คือ “บริหารปัญญา” หมายถึง ผู้ที่ท าหน้าที่เผยแผ่ศาสนาจะต้องเป็นผู้น าในทาง พระพุทธศาสนา บูรณาการกับศาสตร์สมัยใหม่ พัฒนาจิตใจและสังคม และได้ก าหนดให้มีการศึกษารัฐศาสตร์
สติปัญญาของสังคม ต้องมีสิ่งที่เรียกว่า อัตตหิตตสมบัติ คือ มีความพร้อมส่วนตัวในเรื่องสติปัญญา ซึ่ง ประยุกต์เข้ากับวิชาการทางพระพุทธศาสนา ส าหรับพระภิกษุ สามเณร และคฤหัสถ์ทั่วไป อันสอดคล้องกับ
หากมีความพร้อมนี้ก็จะสามารถบ าเพ็ญประโยชน์เพื่อผู้อื่นต่อไปได้ การที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาจุฬาลงกรณ์ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช ที่ได้ทรง
นโยบายข้อที่ห้าคือ “สาลิกาป้อนเหยื่อ” หมายถึง ลีลาในการสอนธรรมให้เหมาะสมกับระดับ สถาปนามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยขึ้น เพื่อเป็นที่ศึกษาพระไตรปิฎกและวิชาชั้นสูงส าหรับ
ของผู้ฟัง โดยเปรียบเทียบกับการที่แม่นกสาลิกาเมื่อป้อนเหยื่อให้ลูกนกจะท าเหยื่อแต่ละค าให้เล็กพอดี พระภิกษุสามเณรและคฤหัสถ์ทั่วไป
กับปากของลูกนก และนโยบายนี้ยังสอดคล้องกับพุทธพจน์ที่ว่า “จงแสดงธรรมอันงามในเบื้องต้น งาม
ในท่ามกลาง งามในที่สุด” การสอนธรรมที่ดีต้องรู้จักเลือกวิธีการให้เหมาะสมกับระดับปัญญาของผู้ฟัง วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๑. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจวิชาการทางรัฐศาสตร์ประยุกต์เข้ากับวิชาการทาง
ดังที่พระพุทธเจ้าได้แยกระดับของผู้ฟังธรรมออกเป็น ๔ ระดับเหมือนกับดอกบัว ๔ เหล่า และแต่ละ พระพุทธศาสนา
ประเภทนั้นจะมีลักษณะการสอนไม่เหมือนกัน ๒. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้น าความรู้ในวิชาการทางพระพุทธศาสนา ไปประยุกต์ใช้ในสาขาวิชา
นโยบายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาของพระพรหมบัณฑิต ที่กลั่นกรองได้จากประสบการณ์การ รัฐศาสตร์และเน้นถึงความรู้คู่คุณธรรมตามหลักทางพระพุทธศาสนา
ท างานด้านเผยแผ่พระพุทธศาสนาทั้งในและต่างประเทศ แสดงให้เห็นถึงความสามารถของท่านด้านการ ๓. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจรัฐศาสตร์ได้อย่างเหมาะสมและสามารถน าความรู้นี้ไป
เผยแผ่พระพุทธศาสนา รวมถึงหลักคิดในการน าเอาพุทธพจน์ขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้ามา ประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ประยุกต์ใช้กับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา และปรับความเหมาะสมให้เข้ากับสภาพสังคมปัจจุบัน