Page 46 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 46
คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น | 37
๓๖ คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๓๗
ภาคการศึกษาที่ ๖ ๘๐๑ ๑๐๔ สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิชาชีพ (๓) (๓-๐-๖)
แบบ ๒.๑ Seminar on the Buddhism and Profession
รหัสวิชา ชื่อรายวิชา หน่วยกิต ทฤษฎี ปฏิบัติ ศึกษาด้วย สัมมนาวิชาชีพต่างๆ เช่น วิชาชีพแพทย์ วิชาชีพทนายความ วิชาชีพวิศวกร เป็นต้น เพื่อแก้ปัญหา
ตนเอง โดยการน าพุทธธรรมเข้าเป็นวิธีการและน าหลักพุทธธรรมไปส่งเสริมคุณภาพชีวิตของคนในวิชาชีพต่างๆ
๘๐๐ ๔๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๘๐๑ ๑๐๕ สัมมนาพระไตรปิฎกและงานนิพนธ์ (๓) (๓-๐-๖)
รวมนับหน่วยกิต ๑๒ Seminar on the Tipitaka and Buddhist Literary Works
รวมไม่นับหน่วยกิต - สัมมนาพระไตรปิฎกในฐานะให้เกิดงานนิพนธ์ทางพระพุทธศาสนาที่ส าคัญ เช่น มิลินทปัญหา วิมุตติ
ไม่รวมการเรียนเสริมบาลี/ภาษาอังกฤษ MCU005-006 (ยกเว้นผู้มีคุณสมบัติด้านภาษาเป็นไปตามเกณฑ์มหาวิทยาลัย) มรรค วิสุทธิมรรค มังคลัตถทีปนี โดยเน้นให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจในศัพท์ส านวนวิชาการของงานนั้นๆ
รวมทั้งศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการแต่งคัมภีร์ โครงสร้าง เนื้อหา และองค์ความรู้ในงานนิพนธ์เรื่องนั้นๆ เพื่อ
๘. แนวสังเขปรายวิชา ประโยชน์ในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการท าวิจัย
(๑) วิชาบังคับ ๖ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาบังคับ ๖ หน่วยกิต และศึกษาวิชาที่ก าหนดให้ศึกษา ๘๐๐ ๓๐๖ วิปัสสนากรรมฐาน (๓) (๓-๓-๖)
เพิ่มเติมอีก ๗ รายวิชา คือ Insight Meditation
ก. วิชาบังคับ แบบนับหน่วยกิต ศึกษาวิปัสสนากรรมฐานภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ โดยภาคทฤษฎีเน้นศึกษาวิเคราะห์การปฏิบัติ
๘๐๑ ๑๐๑ สัมมนาพระไตรปิฎกและอรรถกถา ๓ (๓-๐-๖) กรรมฐานของพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎก รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติกรรมฐานของส านักต่างๆ
Seminar on the Tipitaka and Its Commentaries ในสังคมไทย ส่วนในภาคปฏิบัติจะมีการน านิสิตให้ฝึกปฏิบัติกรรมฐานเพื่อให้เกิดความเข้าใจอย่างถูกต้อง
สัมมนาประเด็นปัญหาส าคัญในพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก โดยมีอรรถ ๖๐๐ ๔๐๑ สัมมนางานวิจัยและวิทยานิพนธ์ (๓) (๓-๓-๖)
กถาเป็นคัมภีร์สนับสนุน ให้นิสิตก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น เช่น นิติศาสตร์ Seminar on Research and Thesis
ในพระวินัยปิฎก วิทยาศาสตร์ในพระสุตตันตปิฎก นิเวศวิทยาในพระสุตตันตปิฎก จิตวิทยาในพระอภิธรรม สัมมนางานวิจัยและวิทยานิพนธ์ที่มีคุณภาพและได้รับการยอมรับมาศึกษาวิเคราะห์ โครงสร้างเนื้อหา
ปิฎก เป็นต้น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผล ประเด็นปัญหา วิธีด าเนินการวิจัย ผลการวิจัย และประเด็นปัญหาที่ควรศึกษาวิจัยเพิ่มเติม
การศึกษา โดยความเห็นชอบของอาจารย์ประจ าวิชา (๒) วิชาเอก ๖ หน่วยกิต นิสิตต้องศึกษาวิชาเอกพระพุทธศาสนา ๖ หน่วยกิต และศึกษาวิชาที่
๘๐๐ ๑๐๒ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความ ๓ (๓-๐-๖) ก าหนดให้เพิ่มเติมอีก ๑ รายวิชา คือ
Buddhism and Hermeneutics
ศึกษาศาสตร์แห่งการตีความแบบตะวันตกและตะวันออก โดยเน้นประเด็นความขัดแย้งทางศาสนา ก. วิชาเอก แบบนับหน่วยกิต
และปรัชญาที่น าไปสู่การสร้างรูปแบบการตีความแบบต่างๆ รวมทั้งบริบทแวดล้อมทางสังคมและทางวิชาการที่ ๘๐๑ ๒๐๗ สัมมนาหลักพุทธธรรม ๓ (๓-๐-๖)
มีอิทธิพลต่อการตีความค าสอนทางศาสนาให้เหมาะสมกับยุคสมัย โดยเฉพาะหลักการตีความใน Seminar on Buddhadhamma
พระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายานที่ปรากฏในคัมภีร์ต่างๆ เช่น พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก สัมมนาหลักพุทธธรรมทั้งฝ่ายพระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน โดยเน้นวิเคราะห์แนวคิดและค า
พระอภิธรรมปิฎก อรรถกถา ฎีกา เปฏโกปเทส เนตติปกรณ์ วิสุทธิมรรค มิลินทปัญหา ปรัชญาปารมิตาสูตร สอนส าคัญ เน้นพุทธธรรมที่เป็นแกนหลัก พุทธธรรมที่เป็นเครื่องมือปฏิบัติ และพุทธธรรมแนวประยุกต์ใช้
ลังกาวตารสูตร เป็นต้น ได้แก่ อริยสัจ ๔ อริยมรรคมีองค์ ๘ ขันธ์ ๕ ปฏิจจสมุปบาท สุญญตา นิพพาน จิตประภัสสร กายของ
พระพุทธเจ้า พระอรหันต์ พระโพธิสัตว์ บารมี ๑๐ และอื่นๆ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชา
ข. วิชาบังคับ แบบไม่นับหน่วยกิต อย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลและเสนอ
๘๐๑ ๒๐๓ ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูง (๓) (๓-๐-๖) ผลการศึกษา
Advanced Research Methodology ๘๐๑ ๒๐๘ สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิทยาการสมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
ศึกษาระเบียบวิธีการท าวิจัยทางสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ Seminar on Buddhism and Modern Sciences
ในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อฝึกด าเนินการวิจัย โดยให้นิสิตเสนอโครงร่างงานวิจัย ครอบคลุมหลักการ สัมมนาประเด็นปัญหาทางพระพุทธศาสนาและวิทยาการสมัยใหม่ โดยศึกษาแบบบูรณาการให้
และเหตุผล วัตถุประสงค์ ขอบข่ายเนื้อหา ระยะเวลาที่จะท าการวิจัย และแหล่งข้อมูล ครอบคลุมทั้งวิทยาการด้านวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และมนุษยศาสตร์ เน้นให้นิสิตประยุกต์วิทยาการ
สมัยใหม่มาอธิบายค าสอนทางพระพุทธศาสนา และประยุกต์ค าสอนทางพระพุทธศาสนาเพื่ออธิบายศาสตร์
สมัยใหม่ อันจะเป็นการตอบปัญหาทางวิชาการและปัญหาสังคมสมัยใหม่