Page 50 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 50

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   41

 ๔๐       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๔๑


 ๘๐๑ ๓๑๘    สัมมนาพระพุทธศาสนาเพื่อสังคม          ๓ (๓-๐-๖)   หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
 Seminar on Socially Engaged Buddhism

 สัมมนาแนวคิดทฤษฎีและขบวนการพระพุทธศาสนาเพื่อสังคมในโลกยุคใหม่ โดยเน้นวิเคราะห์แนวคิด  สาขาวิชาปรัชญา แบบ ๒.๑ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐
 ทางพระพุทธศาสนาที่ส่งเสริมการแก้ปัญหาเชิงโครงสร้าง เช่น การจัดตั้งชุมชน ความสัมพันธ์ในชุมชน การมี
 ส่วนร่วมหรือผูกพัน (Engage) กับการแก้ปัญหาต่าง ๆ ของสังคม โดยเฉพาะขบวนการพระพุทธศาสนาเพื่อ  ๑. ชื่อหลักสูตร
 สังคมในโลกยุคใหม่ เช่น ขบวนการสรรโวทัยในศรีลังกา ขบวนการชาวพุทธเวียดนาม ขบวนการชาวพุทธทิเบต       ชื่อหลักสูตรภาษาไทย         : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา
 ขบวนการชาวพุทธไทย ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท า      ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ     : Doctor of Philosophy in Philosophy

 โครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา
 ๘๐๑ ๓๑๙    สัมมนาพระอภิธรรมปิฎก             ๓ (๓-๐-๖)   ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
 Seminar on AbhidhammaPitaka        ชื่อเต็มภาษาไทย    : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ปรัชญา)

 สัมมนาประเด็นส าคัญในพระอภิธรรมปิฎก โดยเน้นศึกษาก าเนิดและพัฒนาการของพระอภิธรรมปิฎก        ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ         : Doctor of Philosophy (Philosophy)
 รูปแบบและโครงสร้างของคัมภีร์พระอภิธรรมปิฎก แนวคิดเรื่องสมมติสัจจะและปรมัตถสัจจะ แนวคิดเรื่อง       ชื่อย่อภาษาไทย    : พธ.ด. (ปรัชญา)
 กรรมกับอนัตตา แนวคิดเรื่องปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน เป็นต้น รวมทั้งศึกษาคัมภีร์ที่     ชื่อย่อภาษาอังกฤษ
 เกี่ยวข้องอื่น ๆ เช่น คัมภีร์อภิธรรมาวตาร คัมภีร์อภิธัมมัตถสังคหะ คัมภีร์วิสุทธิมรรค ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนด     : Ph.D. (Philosophy)

 ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวม  ๓. หน่วยงานที่รับผิดชอบ
 ข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา       หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
 ๘๐๑ ๓๒๐   พระพุทธศาสนากับประชาคมอาเซียน            ๓ (๓-๐-๖)         บัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
 Buddhism and ASEAN Community

 ศึกษาประเด็นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่สัมพันธ์กับเสาหลักของอาเซียน ๓  อย่าง คือ (๑) ประชาคม  ๔. ปรัชญา ความส าคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 การเมืองและความมั่นคงอาเซียน  (๒) ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน  (๓) ประชาคมสังคมและวัฒนธรรม      ปรัชญาของหลักสูตร
 อาเซียน  โดยนิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น  แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน      ผลิตพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา ให้เป็นผู้มีความใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ และมีวิสัยทัศน์
 ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา    กว้างไกล  ให้เป็นนักคิด นักวิเคราะห์ นักวิจารณ์ นักวิพากษ์และสังเคราะห์องค์ความรู้ทางปรัชญาและศาสนา


 (๔) ดุษฎีนิพนธ์   โดยเฉพาะพุทธปรัชญา เพื่อพัฒนามนุษย์และสังคม

 ๘๐๐ ๔๐๐    ดุษฎีนิพนธ์    แบบ ๒.๑            ๓๖ หน่วยกิต      ความส าคัญของหลักสูตร
 Dissertation            ความเจริญด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีได้ท าให้สังคมมนุษย์เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
                     การเปลี่ยนแปลงดังกล่าวมีผลกระทบอย่างมากต่อมนุษย์ในหลายด้าน โดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านความจริง
                  ความดี และความงามที่มนุษย์เคยยึดถือ จึงส่งผลให้สังคมต้องเผชิญปัญหาที่ไม่สามารถจะแก้ไขได้ด้วย

                  กฎหมายหรือระเบียบทางสังคม การจะแก้ไขปัญหาดังกล่าวจ าเป็นจะต้องจัดการศึกษาให้มนุษย์เป็นผู้มี
                  ความสามารถรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง  โดยวิเคราะห์ วิจารณ์ วิพากษ์เรื่องความจริง ความดี และความงาม

                  จนกระทั่งรู้จักแยกแยะคุณค่าที่ส าคัญระหว่างมนุษย์กับมนุษย์ มนุษย์กับสังคม มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม และ
                  มนุษย์กับเทคโนโลยี  ซึ่งจะท าให้มนุษย์สามารถรู้และตัดสินใจว่าสิ่งใดควรท า สิ่งใดไม่ควรท า เพื่อการด ารงชีวิต

                  อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

                         การศึกษาวิชาปรัชญาจึงมีความส าคัญต่อมนุษย์อย่างยิ่ง เพราะวิชานี้สอนให้มนุษย์มีความรู้ในด้าน
                  ความจริง ความดี และความงาม โดยเน้นการปลูกฝังศักยภาพในด้านการวิเคราะห์ วิจารณ์ วิพากษ์ และ
                  สังเคราะห์องค์ความรู้บนฐานของความจริง ความดี และความงาม  ผลที่ได้จากการศึกษาวิชานี้จะท าให้ผู้เรียน

                  พัฒนาตนเองและสังคมให้มีความผาสุกอย่างยั่งยืนได้
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55