Page 48 - คู่มือบัณฑิตศึกษา ปีการศึกษา 2563
P. 48

คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |   39

 ๓๘       คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น   คู่มือนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น     ๓๙


 นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน   ๘๐๑ ๒๑๓    สัมมนาพระพุทธศาสนากับสตรีนิยม         ๓ (๓-๐-๖)
 ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา   Seminar on Buddhism and Feminism

                         สัมมนาแนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับสตรีนิยมและแนวคิดของพระพุทธศาสนาเกี่ยวกับสตรี โดยเน้นศึกษา
 ข. วิชาเอก แบบไม่นับหน่วยกิต
 ๘๐๑ ๓๐๙    พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการใช้เหตุผล       (๓) (๓-๐-๖)   วิเคราะห์ปัญหาความไม่เท่าเทียมกัน  ด้านสถานะและบทบาทระหว่างบุรุษกับสตรีในสังคม  รวมทั้งประเด็น
 Buddhism and Reasoning Sciences   ค าถามของสังคมสมัยใหม่ที่มาควบคู่กับแนวคิดแบบสตรีนิยม (Feminism) สิทธิเสรีภาพ และความเสมอภาค
 ศึกษาวิธีคิดและวิธีการใช้เหตุผลในพระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบกับวิธีคิดและการใช้เหตุผลแบบ  ทางเพศ ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่าง

 ต่างๆ ของตะวันตก เช่น การคิดเชิงวิเคราะห์ การคิดเชิงสังเคราะห์ การคิดเชิงกลยุทธ์ การคิดแบบสร้างสรรค์   รายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา
 และการใช้เหตุผลทางตรรกะแบบนิรนัยและอุปนัย เน้นศึกษาวิธีคิดและการใช้เหตุผลที่ปรากฏในคัมภีร์  ๘๐๑ ๒๑๔    พระพุทธศาสนาในวรรณคดีไทย           ๓ (๓-๐-๖)
 พระพุทธศาสนาเถรวาทและมหายาน            Buddhism in Thai Literatures
                         ศึกษาแนวความคิดทางพระพุทธศาสนาที่ปรากฏในวรรณคดีไทยเรื่องเด่นๆ โดยเน้นวิเคราะห์อิทธิพล
 (๓) วิชาเลือก ๖ หน่วยกิต นิสิตต้องเลือกศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้    ของพระพุทธศาสนาในแง่หลักค าสอน ภาษา โลกทัศน์ ฉาก โครงเรื่อง และบุคลิกลักษณะของบุคคลใน
 ๘๐๑ ๒๑๐    ศึกษาอิสระในศาสนศึกษา             ๓ (๓-๐-๖)   วรรณคดี รวมทั้งศึกษาบทบาทของวรรณคดีไทยในฐานะเป็นสื่อกลางถ่ายทอดความเชื่อทางพระพุทธศาสนา
 Independent Study in Religious Studies   ต่อสังคมไทย ในแง่วิถีชีวิต วัฒนธรรม ประเพณีไทย และค่านิยมทางสังคม
 ให้นิสิตเลือกศึกษาแนวคิดในศาสนาต่างๆ ตามความสนใจ ทั้งนี้ นิสิตอาจจะศึกษาเปรียบเทียบแนวคิด  ๘๐๑ ๓๑๕    จิตรักษากับการปรึกษาเชิงพุทธ            ๓ (๓-๐-๖)

 ระหว่างศาสนา คือ พระพุทธศาสนา ศาสนาฮินดู ศาสนาคริสต์ ศาสนาอิสลาม ศาสนาสิกข์ ลัทธิเต๋า ลัทธิขงจื๊อ   Buddhist Psychotherapy and Counseling
 เป็นต้น โดยศึกษาในรูปแบบโครงการวิจัย ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓   วิเคราะห์วิธีการรักษาจิตและให้ค าปรึกษา  แก่บุคคลผู้ประสบปัญหาทางจิตใจตามแนว
 ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา    พระพุทธศาสนา โดยเปรียบเทียบกับหลักจิตรักษาและการให้ค าปรึกษาในจิตวิทยาตะวันตก เน้นศึกษา
 ๘๐๑ ๒๑๑    สัมมนาพุทธจริยศาสตร์ประยุกต์           ๓ (๓-๐-๖)   ธรรมชาติและกระบวนการท างานของจิต วิธีการพัฒนา การเยียวยารักษาและการให้ค าปรึกษา แก่บุคคลผู้

 Seminar on Applied Buddhist Ethics   ประสบปัญหาทางจิต เช่น ปัญหาความเครียด ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ปัญหาเศรษฐกิจ ปัญหาครอบครัว
 สัมมนาประเด็นเกี่ยวกับพุทธจริยศาสตร์ประยุกต์ โดยเน้นศึกษาหลักการและเกณฑ์ตัดสินในพุทธจริย  ปัญหาสุขภาพและปัญหาเกี่ยวกับความรัก เป็นต้น
 ศาสตร์เพื่อตอบปัญหาทางจริยศาสตร์ในสังคมปัจจุบัน เช่น การเลือกเพศ การตัดต่อพันธุกรรม การใช้  ๘๐๑  ๓๑๖      พระพุทธศาสนากับสังคมผู้สูงอายุ          ๓ (๓-๐-๖)
 สัตว์ทดลองทางวิทยาศาสตร์ การบริจาคอวัยวะ การอุ้มบุญ อัตวินิบาตกรรม การุณยฆาต โทษประหารชีวิต   Seminar on Buddhism and Aged Society

 สงครามที่เป็นธรรม การท าแท้ง ปัญหาเรื่องสิทธิเหนือร่างกาย สิทธิที่จะตาย การแต่งงานกับเพศเดียวกัน                         สัมมนาประเด็นพระพุทธศาสนากับสังคมผู้สูงอายุ เพื่อหาแนวทางในการน าพุทธธรรมมาบูรณาการ
 การละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา จริยศาสตร์สิ่งแวดล้อม จริยศาสตร์ธุรกิจ จริยศาสตร์การแพทย์ และประเด็น  กับหลักการบริหารจัดการในด้านการส่งเสริมดูแลสุขภาพ  การพึ่งตนเอง จิตวิทยาในการยอมรับในการ
 ปัญหาทางจริยศาสตร์อื่นๆ ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ประเด็น แล้ว  เปลี่ยนแปลงตนเอง การด ารงตนอย่างมีคุณค่า เป็นต้น  โดยเน้นศึกษาหลักการทั้งฝ่ายที่เป็นผู้ดูแลและผู้สูงอายุ

 จัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา    ทั้งนี้  นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนิน
 ๘๐๑ ๒๑๒    สัมมนาพระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน       ๓  (๓-๐-๖)   การศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา
 Seminar on Buddhism and Sustainable Development   ๘๐๑ ๓๑๗    สัมมนาพระพุทธศาสนากับเศรษฐกิจพอเพียง       ๓ (๓-๐-๖)
 สัมมนาแนวคิดทฤษฎีทางพระพุทธศาสนาและศาสตร์สมัยใหม่เกี่ยวกับการพัฒนาที่ยั่งยืน โดยเน้น  Seminar on Buddhism and Sufficiency Economy
 ศึกษาวิเคราะห์สภาพปัญหาการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืน ด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษาและสิ่งแวดล้อม รวมทั้งภูมิ  สัมมนาประเด็นพระพุทธศาสนา ทฤษฎีเศรษฐกิจพอเพียง และแนวคิดความสุขมวลรวมประชาชาติ

 หลังความคิดความเชื่อแบบตะวันตกที่ก าหนดรูปแบบการพัฒนาในสังคมโลกปัจจุบัน แล้ววิเคราะห์แนว  (GNH) โดยเน้นศึกษาหลักค าสอนทางพระพุทธศาสนาที่สอดคล้องและส่งเสริมหลักเศรษฐกิจพอเพียง ปัญหา
 ทางการพัฒนาตามหลักพระพุทธศาสนาที่เน้นความยั่งยืนของสังคม เศรษฐกิจ การศึกษาและสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้   อันเกิดจากความไม่พอเพียงในระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและบริโภคนิยมในสังคมปัจจุบัน แล้วเสนอแนวทาง
 นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้องกับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็น  แล้วจัดท าโครงร่างรายงาน ด าเนิน  พัฒนาเศรษฐกิจตามแนวพระพุทธศาสนาและหลักเศรษฐกิจพอเพียง ทั้งนี้ นิสิตต้องก าหนดประเด็นที่เกี่ยวข้อง

 การศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล และเสนอผลการศึกษา    กับรายวิชาอย่างน้อย ๓ ประเด็นแล้วจัดท าโครงร่างรายงานด าเนินการศึกษา รวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล
                  และเสนอผลการศึกษา
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53