Page 116 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 116

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
                                                                                                       105
                  คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี ปีการศึกษา ๒๕๖๓                                         105


                  ครู เพื่อการเป็นครูที่มีสมรรถนะสูง มีความรอบรู้ ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลงบริบท

                  โลก ประพฤติตนเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรมและจริยธรรม สามารถส่งเสริมการเรียนรู้

                  ยอมรับความแตกต่างของผู้เรียน และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนทุกคนเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้
                  และสามารถเรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง รวมถึงตระหนักถึงความส าคัญของการมีจิตอาสา

                  การอุทิศตนและการมีส่วนร่วมกับชุมชน เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตอาสาและอุทิศตนในการ

                  พัฒนาชุมชนและสังคมที่อยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน
                  ๒๐๐ ๑๐๒    ภาษาและวัฒนธรรม                                            ๓ (๒-๒-๕)

                                   (Language and Culture)

                                  รู้ เข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของภาษาไทย วัฒนธรรมไทย
                  การส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ

                  มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียนภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถ
                  วิเคราะห์อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อสังคมและการด าเนิน

                  ชีวิตเพื่อการสื่อสารและพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพ รวมทั้งสามารถใช้ภาษาและ
                  วัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ

                  ๒๐๐  ๑๐๓        จิตวิทยาส าหรับครู                                             ๓ (๒-๒-๕)

                                  (Psychology for Teachers)
                                  รู้และเข้าใจแนวคิดพื้นฐาน หลักการ และทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการ

                  จิตวิทยาการศึกษา จิตวิทยาการให้ค าปรึกษาและการแนะแนว การให้ค าปรึกษาและการ

                  แนะแนวเชิงพุทธ เพื่อให้สามารถใช้กระบวนการทางจิตวิทยาและการแนะแนวในการ
                  ช่วยเหลือ ดูแล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพโดยค านึงถึงวิธีการเรียนรู้

                  (Learning styles) ความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน การประยุกต์ใช้

                  จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา และจิตวิทยาการให้ค าปรึกษาในการวิเคราะห์และ
                  พัฒนาผู้เรียน รวมทั้งสามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ

                  ๒๐๐  ๒๐๔        ปรัชญาการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร                    ๓ (๒-๒-๕)
                                  (Educational  Philosophy and Curriculum Development)

                                  รู้และเข้าใจ แนวคิดทฤษฎีทางปรัชญาการศึกษา วิเคราะห์ความเชื่อมโยง

                  ของปรัชญาการศึกษา พุทธปรัชญา ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิดทางศาสนา เศรษฐกิจ สังคม
                  และวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการจัดการศึกษาไทย และสามารถบูรณาการเพื่อใช้ในการ

                  ออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสูตร รวมทั้งสามารถน าหลักสูตรไปใช้ การประเมิน
                  หลักสูตร และน าผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรและจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างการ

                  พัฒนาที่ยั่งยืน
   111   112   113   114   115   116   117   118   119   120   121