Page 55 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 55

44  | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
                  ๔๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  ๑๐๔ ๓๐๙       ปรัชญาอินเดียโบราณ                                               ๓ (๓-๐-๖)
                                (Ancient Indian Philosophy)

                                ศึกษาแนวคิดทางปรัชญาของพระเวท อุปนิษัทและภควัทคีตา ประวัติและหลักปรัชญา
                  นาสติกะ ๓ ส านัก และอาสติกะ ๖ ส านัก
                  ๑๐๔ ๔๑๐       ปรัชญาจีน เกาหลีและญี่ปุ่น                                       ๓ (๓-๐-๖)
                                (Chinese, Korean and Japanese Philosophy)
                                ศึกษาประวัติและแนวคิดทางปรัชญาของจีน,เกาหลี และญี่ปุ่น ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึง

                  ปัจจุบันเน้นความคิดของของเล่าจี๊อ, ขงจื๊อ, เม่งจื๊อ, ซุ่นจื๊อ, มอจื๊อ, อั่นเฟอยจื้อ, เหมาเซตุง พระพุทธศาสนา
                  นิกายเซ็น
                  ๑๐๔ ๔๑๑       ปรัชญาตะวันตกสมัยโบราณ                                           ๓ (๓-๐-๖)

                                (Ancient western Philosophy)
                                ศึกษาความหมาย ของคาว่า ปรัชญา และ philosophy ประวัติแนวคิดของนักปรัชญากรีก
                  สมัยโบราณได้แก่ ธาเลส (Thales) อานักซิมานเดอร์ (Anaximander) อานักซิเมเนส (Anaximenes)
                  พิธากอรัส (pythagoras) เฮราคลิตุส (Heraclitus) ปาร์มีนิเดส (Parmenides) เซโนแห่งเอเลีย (zeno of

                  Elea) เอมเปโดเคลส (Empedocles) อานักซากอรัส (Anaxagoras) เดมอคริตุส (Democritus) โปรแทกอรัส
                  (Protagoras) โสคราดีส (Socrates) พลาโต้ (Plato) อาริสโตเติล (Aristotle) ลัทธิไซนิก (Cynicism) ลัทธิ
                  เอปิคิวเรียน (Epicurianism) ลัทธิสโตอิก (Stoicism) ลัทธิวิมตินิยม (Scepticism) และลัทธินีโอพลาโตนิสม์
                  (Neo-Platonism)

                  ๑๐๔ ๓๑๒       ปรัชญาตะวันตกสมัยกลาง                                            ๓ (๓-๐-๖)
                                (Medievalwestern Philosophy)
                                ศึกษาปรัชญาของเซนต์ ออกัสติน (St. Augustine) เอริเยนา (John Scotus Erigena) เซนต์
                  แอนเซลม์ (St. Anselm) ปีเตอร์ อาเบอบาร์ด (Peter Abelard) เซนต์ โธมัส อาควินัส (St. Thomas

                  Aquinas) ดุนส์ สโคตุส (Duns Scotus) และวิลเลียม แห่งออคคัม (William of Ockham)
                  ๑๐๔ ๔๑๓       ปรัชญาตะวันตกสมัยใหม่                                            ๓ (๓-๐-๖)
                                (Modern Western Philosophy)

                                ศึกษาประวัติแนวคิดของนักปรัชญา ในลัทธิเหตุผลนิยม ได้แก่ เรอเน เดการ์ต สปีโนซา
                  และไลน์นิช นักปรัชญาในลัทธิประสบการณ์นิยม ได้แก่ ฟรานซิส เบคอน โทมัส ฮอบส์ จอห์น ล็อก เบิรกลีย์
                  และเดวิด ฮูม ประวัติและแนวคิดของค้านท์ โซเปนเฮาร์ และนิตเช และศึกษาประวัติและแนวคิดของนัก
                  ปรัชญาร่วมสมัยในส านักจิตนิยมอังกฤษ ส านักจิตนิยมอิตาลี และอเมริกัน ส านักปฏิบัตินิยม ส านักวิวัฒนาการ
                  นิยม ส านักสัจนิยม และส านักอัตถิภาวนิยม

                  ๑๐๑ ๔๑๗       ศึกษาอิสระทางปรัชญา                                              ๓ (๓-๐-๖)
                                (Independent Study on philosophy)
                                ศึกษาค้นคว้าวิจัยภาคสนามทางปรัชญา ที่สามารถประยุกต์ใช้ในกิจการทางปรัชญา

                  โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา
                  ๑๐๔ ๓๒๖       จริยศาสตร์                                                       ๓ (๓-๐-๖)
                                (Ethics)
                                ศึกษาแนวคิดทางจริยศาสตร์นับจากสมัยโบราณถึงปัจจุบัน เน้นแนวความคิดของอริสโตเติล

                  คานต์ มิลล์ ส านักสุขนิยม และอสุขนิยม แบบต่าง ๆ
   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60