Page 58 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 58

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๔๖                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๔๗  47


 ๑๐๔ ๔๑๘    ตรรกศาสตร์สัญลักษณ์เบื้องต้น                  ๓ (๓-๐-๖)   ๑๐๔ ๓๒๓    จริยศาสตร์ประยุกต์                      ๓ (๓-๐-๖)
       (Symbolic Logic)         (Applied Ethics)

       ศึกษาความหมายและลักษณะของตรรกศาสตร์สัญลักษณ์ ความสัมพันธ์และความแตกต่าง        ศึกษาวิเคราะห์ปัญหาทางจริยศาสตร์ ที่ส าคัญในสังคมปัจจุบัน เช่น ปัญหาความผิดปกติทาง
 จากตรรกศาสตร์แบบเดิม ญัตติ ข้ออ้างเหตุผล ค่าความจริง ความจริงเชิงตรรกะ ความสมเหตุสมผล การใช้  เพศ ปัญหาโสเภณี ปัญหาการท าแท้งปัญหาการท าการุณยฆาต ปัญหาการซื้อขายอวัยวะ ปัญหาการใช้สัตว์เป็น
 สัญลักษณ์และวิธีทดสอบความสมเหตุสมผลแบบต่างๆ เช่น ตารางความจริง ของญัตติเชิงซ้อน และข้ออ้าง  เครื่องทดลอง ปัญหาสิ่งแวดล้อม ปัญหาโคลนนิ่ง และเกณฑ์ตัดสินทางจริยศาสตร์ในปัจจุบัน   ๓ (๓-๐-๖)



                                ปรัชญาภาษา



                  ๑๐๔ ๓๒๔
 เหตุผลในตรรกศาสตร์ของญัตติ และตรรกศาสตร์ภาคนิเทศ         (Philosophy of Language)
 ๑๐๔ ๔๑๙    ปรัชญาศาสนา                       ๓ (๓-๐-๖)          ศึกษาปรัชญาภาษาของนักปรัชญาคนส าคัญ เช่น วิทต์เกนสไตน์ เบอร์ทรันด์ รัสเซลล์
       (Philosophy of Religion)   กิลเบิร์ต ไรล์ อัลเฟรด จูลส์ แอร์ ทินนาคะ และธรรมกีรติ
       ศึกษาลักษณะและขอบเขตของปรัชญาศาสนา ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญาศาสนา มนุษย์  ๑๐๔ ๓๒๘    สุนทรียศาสตร์                        ๓ (๓-๐-๖)
 กับศาสนา ภาษาศาสนา ประสบการณ์ทางศาสนา อมตภาพของวิญญาณ ปัญหาความชั่วร่าย ปัญหาเรื่อง                     (Aesthethics)
 สิ่งสูงสุด                     ศึกษาแนวคิดทางสุนทรียศาสตร์ที่ส าคัญสองแขนง คือ ทฤษฎีศิลปะ และทฤษฎีความงาม
 ๑๐๔ ๔๒๑    ปรัชญาไทย                        ๓ (๓-๐-๖)   นับตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงสมัยปัจจุบัน ทั้งตะวันออกและตะวันตก
       (Thai Philosophy)   ๑๐๓ ๓๒๙    ปรัชญาคริสต์และอิสลาม                                      ๓ (๓-๐-๖)
                                (Christian and Islamic Philosophy)


       ศึกษาแนวคิดภูมิปัญญาไทยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทย ตั้งแต่อดีตถึง        ศึกษาประวัติปรัชญาและปัญหาเชิงปรัชญาของชาวคริสต์และอิสลามในยุคเริ่มแรก ยุคกลาง
 ปัจจุบัน เช่น แนวคิดของนักปราชญ์ท้องถิ่น และภูมิปัญญาชาวบ้านที่ได้รับอิทธิพลจากค าสอนของศาสนา  และยุคใหม่ เช่น ปัญหาเรื่องความมีอยู่ของพระเจ้า การสร้างโลก อมตภาพ การฟื้นคืนชีพ เจตจ านงเสรี
 พราหมณ์และพระพุทธศาสนา   ธรรมชาติของศีลธรรม มนุษย์กับการกระท าและความรับผิดชอบ ความขัดแย้ง ระหว่างศรัทธากับเหตุผล
 ๑๐๔ ๔๒๕    ปรัชญาวิเคราะห์                      ๒ (๒-๐-๔)   ๑๐๔ ๔๓๐    ปรัชญาวิทยาศาสตร์                     ๓ (๓-๐-๖)
       (Analytical Philosophy)         (Philosophy of Science)

       ศึกษาประวัติและพัฒนาการของปรัชญาวิเคราะห์สมัยปัจจุบัน เน้นงานของวิตก์เกนสไตน์,         ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญากับวิทยาศาสตร์ ความหมาย ความรู้ทางวิทยาศาสตร์
 อันเฟรด แอร์, ชลิค เฟรเก เบอร์ทรันต์ รัสเซลล์   การค้นพบทฤษฎี กฎวิทยาศาสตร์ ทัศนะของนักปรัชญาที่มีต่อวิทยาศาสตร์ ปฏิจจสมุปบาทกับทฤษฎีสัมพัทธ์
                  ของไอสไตน์ และหลักอนัตตากับทฤษฎีควอนตัม
     วิชาเลือกเฉพาะสาขาปรัชญา จ านวน ๙ หน่วยกิต   ๑๐๔ ๓๓๑    ปรัชญาการศึกษา                      ๓ (๓-๐-๖)


                                (Philosophy of Education)
 ๑๐๔ ๔๑๔    ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย                    ๓ (๓-๐-๖)         ศึกษาประวัติและแนวคิดทางการศึกษาของปรัชญาส านักต่าง ๆ และปรัชญาการศึกษาที่มี
       (Contemporary Indian Philosophy)   อิทธิพลต่อการศึกษาไทย
       แนวคิดทางปรัชญาและปรัชญาของสวามีรามกฤษณะ, วิเวกานันทะ, รพินทรนาถ ฐากูร,                     ๑๐๔ ๓๓๒    ปรัชญาประวัติศาสตร์                     ๓ (๓-๐-๖)
 ศรีอรพินโท, มหาตมคานธี, ราธกฤษณัน, กฤษณจันทะ, ภัฏฏาจารย์ และอัมเบดการ์         (Philosophy of History)
 ๑๐๔ ๓๒๐    ปรัชญาหลังนวยุค                      ๓ (๓-๐-๖)         ศึกษาขอบข่ายและเนื้อหาปรัชญาประวัติศาสตร์ วิเคราะห์ความจริงและข้อเท็จจริงใน
       (Post Modern Philosophy)      ประวัติศาสตร์ ศึกษาปรัชญาประวัติศาสตร์เชิงวิเคราะห์ ตามแนวความคิดของคานท์, เฮอเดอร์, เฮเกล, คาร์ล

       ศึกษากระบวนทัศน์ทางปรัชญาในยุคต่าง ๆ เช่น ปรัชญายุคโบราณ ปรัชญายุคกลางปรัชญา  มาร์กซ์ และ คาร์ล ปอบเปอร์                     ๓ (๓-๐-๖)
                                มนุษย์ปรัชญา
                  ๑๐๔ ๔๓๓
 ยุคใหม่ และปรัชญาร่วมสมัย ในฐานะเป็นระบบเครือข่ายทางแนวคิดที่ไม่มีการแบ่งแยก แต่เป็นการค้นคว้าเพื่อ        (Philosophy of Man)
 แสวงหาจุดร่วมของโลกแห่งความคิดและความจริงทางปรัชญา         ศึกษาธรรมชาติพื้นฐานของมนุษย์ สิทธิหน้าที่และเสรีภาพทั้งในฐานะปัจเจกชนและสัตว์
 ๑๐๔ ๓๒๒    ปรัชญาสังคมและการเมือง                   ๓ (๓-๐-๖)   สังคม อุดมการณ์ของชีวิตของปรัชญาส านักต่าง ๆ เปรียบเทียบกับทัศนะในพุทธปรัชญา
       (Social and Political Philosophy)   ๑๐๔ ๔๓๔    ตรรกศาสตร์ตะวันออก                         ๓ (๓-๐-๖)
       ศึกษาความหมายและขอบข่ายของปรัชญาสังคมและการเมือง ทฤษฎีทางสังคมและการเมือง        (Eastern Logic)
 ของตะวันตกและตะวันออก ปัญหาเรื่องรัฐ ระบบการเมือง สิทธิ เสรีภาพ ความยุติธรรม และทัศนะ        ศึกษาแนวคิดทางตรรกศาสตร์ของพุทธปรัชญา เช่น ไวภาษิกะ เสาตรานติกะ มาธยมิกะ และ
 พระพุทธศาสนาเกี่ยวกับสังคมและการเมือง   ตรรกศาสตร์ของปรัชญาฮินดู เช่น ปรัชญานยายะ เวทานตะ
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63