Page 60 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 60

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๔๘                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๔๙  49


 ๑๐๔ ๓๓๕    วิเคราะห์ปัญหาปัจจุบันเชิงปรัชญา                ๓ (๓-๐-๖)   หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
       (Philosophical Analysis of Current Problems)
       ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาในปัจจุบันด้วยวิธีทางปรัชญา ประยุกต์ทฤษฎีทางปรัชญาเพื่อการ  สาขาวิชาสังคมศึกษา (๕ ปี) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑
 แก้ปัญหา
 ๑๐๔ ๓๓๖    ปัญหาปรัชญาภาคภาษาอังกฤษ                 ๓ (๓-๐-๖)   ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
       (The Problems of Philosophy in English)      รหัสหลักสูตร   :    ๒๕๕๐๑๘๕๑๑๐๐๓๒๖
       ศึกษาปัญหาปรัชญาจากหนังสือภาษาอังกฤษที่ก าหนดให้      ภาษาไทย    :    หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษา
 ๑๐๔ ๓๓๗    ปรัชญาจิต                        ๓ (๓-๐-๖)      ภาษาอังกฤษ   :    Bachelor of Education Program in Social Studies
       (Philosophy of Mind)
       ประเด็นทางอภิปรัชญา และญาณวิทยาที่เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของจิต ได้แก่ แนวคิดทวินิยม   ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
 แนวคิดสสารนิยมในรูปแบบต่างๆ โดยเน้นเรื่องการรู้จิตอื่น ธรรมชาติของจิต ส านึกธรรมชาติของการคิด      ชื่อเต็ม (ไทย)   :    ครุศาสตรบัณฑิต (สังคมศึกษา)
 ๑๐๔ ๓๓๘    ชีวจริยศาสตร์                        ๓ (๓-๐-๖)      ชื่อย่อ (ไทย)   :    ค.บ. (สังคมศึกษา)
       (Bioethics)       ชื่อเต็ม (อังกฤษ) :    Bachelor of Education in Social Studies
       มโนทัศน์ทางจริยศาสตร์ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางชีวภาพและการแพทย์ รวมทั้งประเด็นที่     ชื่อย่อ (อังกฤษ)  :    B.Ed. (Social Studies)
 เกี่ยวข้องกับปัญหาทางสังคม
 ๑๐๔ ๓๓๙    ปรัชญาจิตวิทยา                      ๓ (๓-๐-๖)   ๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร
       (Philosophy of Psychology)      เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้างความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์ในการเรียนรู้สังคมศึกษา และน าความรู้
       ปัญหาทางปรัชญาที่เกิดขึ้นจากทฤษฎีทางจิตวิทยา โดยเน้นเรื่องจิตวิทยาแห่งการรู้คิด   ทางพุทธศาสตร์และสังคมศึกษา มาประยุกต์เพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมแก่นิสิต โดยการจัดการเรียนการ
 ๑๐๔ ๓๔๐    ปรัชญาสังคมศาสตร์                     ๓ (๓-๐-๖)   สอนทั้งภาคทฤษฎี ปฏิบัติ และวิชาชีพ เพื่อการท างานร่วมกับผู้อื่น และถ่ายทอดวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
       (Philosophy of Social Science)

       ปรัชญาทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ ธรรมชาติของความรู้ ทางสังคม ปรากฏการณ์ทางสังคมทั้งใน  ๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
 แง่ปัจเจกบุคคลและองค์รวม การอธิบายทางสังคม ความเชื่อและการกระท าทางสังคม      เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาสังคมศึกษาให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
 ๑๐๔ ๓๔๑    ปรัชญาอาเซียน                      ๓ (๓-๐-๖)      ๑. เป็นครูสังคมศึกษาที่ด ารงตนให้มี ตามหลักกัลยาณมิตรธรรม พรหมวิหารธรรม ศีลธรรม และ
       (Philosophy of Asean)   จรรยาบรรณวิชาชีพครู
       ศึกษาแนวคิดและมโนทัศน์ชุมชนชาวอาเซียนที่มีต่อการมองโลกและจักรวาลวิทยา เป้าหมาย      ๒. มีความรอบรู้ด้านสังคมศึกษาอย่างบูรณาการ สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินค่าองค์
 ความหมาย และจริยวิถีแห่งชีวิต ตลอดจนภูมิปัญญาดั้งเดิมของชุมชนชาวอาเซียนที่มีลักษะเคลื่อนไหว                ความรู้ และน าไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานวิชาชีพครูอย่างมีประสิทธิภาพ
 ไม่หยุดนิ่ง มีวิถีแห่งการบูรณาการแนวคิดของชุมชนเข้ากับแนวคิดใหม่ทั้งจากปุริมทิศและปัจฉิมทิศ เกิดเป็นภูมิ     ๓. สามารถประยุกต์องค์ความรู้เกี่ยวกับศาสตร์ทางสังคมศึกษา เพื่อพัฒนาทักษะการคิด วิชาชีพ
 ปัญญาเฉพาะของชุมชน อันจะน ามาซึ่งความเข้าใจและร่วมมือมืออันดี ระหว่างชุมชนชาวอาเซียในโลกยุคไร้  คุณภาพชีวิต และสังคมได้อย่างเหมาะสม
 พรมแดน                  ๔. มีจิตสาธารณะ สามารถท างานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชนและสังคมตาม
                  จรรยาบรรณวิชาชีพ
 ๑๐. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังส าเร็จการศึกษา      ๕. มีทักษะการวิเคราะห์สรุปความคิดรวบยอดข้อมูลข่าวสารด้านสังคมศึกษา การสื่อสารและ
    ผู้ที่จบการศึกษาหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา สามารถท างานได้ทั้งภาครัฐและเอกชน   เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการจัดการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา
 ดังนี้ (๑) ผู้บริหารมหาวิทยาลัย (๒) ครู/อาจารย์ (๓) พระสังฆาธิการ (๔) ส านักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ      ๖. สามารถพัฒนารูปแบบการสอน การออกแบบการสอน และการสร้างสรรค์นวัตกรรม เพื่อการ
 (๕) นักวิชาการด้านภาษา (๖) พิธีกร (๗) นักวิชาการศาสนา (๘) นักวิชาการศึกษา (๙) เจ้าหน้าที่บริหารงาน  จัดการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา
 การศาสนา (๑๐) อนุศาสนาจารย์ (๑๑) เจ้าหน้าที่กรมราชทัณฑ์ (๑๒) เจ้าหน้าที่กรมสุขภาพจิต (๑๓)
 นักวิชาการกรมการศาสนา (๑๔) เจ้าหน้าที่ฝึกอบรมบุคลากร (๑๕) นักสังคมสงเคราะห์ฟื้นฟูพัฒนาจิตใจ (๑๖)   ๕. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
 ผู้น าสังคมด้านจิตใจและปัญญา      ๑. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๑ ปรับปรุงจากหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๕๖ เปิดสอนภาคการศึกษาที่ ๑
                  ปีการศึกษา ๒๕๖๑
                         ๒. สภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นชอบหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่
                  ๒/๒๕๖๑ เมื่อวันที่ ๑ เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
                         ๓. สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่ ๓/๒๕๖๑


                  เมื่อวันที่ ๒๗ เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
   55   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65