Page 84 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 84

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๗๒                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๗๓  73


 ชั้นปีที่ ๓      ๙. ค าอธิบายรายวิชา
 ภาคการศึกษาที่ ๒        ๑. หมวดวิชาศึกษาทั่วไป ไม่น้อยกว่า          ๓๐   หน่วยกิต
 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต         ๑.๑ วิชาบังคับ                ๑๘   หน่วยกิต
    หมวดวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา              ๑.๒ วิชาเลือก             ๑๒   หน่วยกิต
 ๐๐๐ ๓๕๖  ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖    ๑ (๑-๒-๔)      ๒. หมวดวิชาเฉพาะด้าน ไม่น้อยกว่า       ๑๒๐   หน่วยกิต
    หมวดวิชาชีพครู              ๒.๑ วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา ไม่น้อยกว่า   ๒๔   หน่วยกิต
 ๒๐๐ ๓๐๘  การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้    ๓ (๒-๒-๕)         ในหมวดรายวิชาดังกล่าว ใช้ค าอธิบายรายวิชาเหมือนกับหลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิขา
    หมวดวิชาเอกบังคับ       พระพุทธศาสนา
 ๒๐๓  ๓๐๘  ความรู้ทั่วไปทางรัฐศาสตร์    ๓ (๓-๐-๖)

 ๒๐๓  ๓๐๙  เทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศ   ๓ (๒-๒-๕)         ๒.๒ วิชาชีพครู  ไม่น้อยกว่า  ๓๖ หน่วยกิต
 ๒๐๓  ๓๑๐  พลเมืองกับการพัฒนาสังคม   ๓ (๓-๐-๖)         ๒.๒.๑ วิชาบังคับ  ๒๔ หน่วยกิต
 ๒๐๓  ๓๑๑  สื่อและนวัตกรรมการสอนสังคมศึกษา   ๒ (๑-๒-๓)   ๒๐๐ ๑๐๑    ความเป็นครูวิชาชีพ                         ๓ (๓-๐-๖)
 ๒๐๓  ๓๑๒  ภาษาอังกฤษทางสังคมศึกษา   ๓ (๓-๐-๖)         (Professional Teacher)
    หมวดวิชาเลือกเฉพาะสาขา                          รู้ เข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของวิชาชีพครูและจิตวิญญาณความเป็นครู สภาพงาน
 ๒๐๓ ๓๑๙  ศาสนาสัมพันธ์   ๒ (๒-๐-๔)   ครู บทบาทหน้าที่ของครู คุณลักษณะส าคัญของความเป็นครูมืออาชีพในศตวรรษที่ ๒๑ มาตรฐานวิชาชีพและ
    วิชาเลือกเสรี  ๒  หน่วยกิต      จรรยาบรรณวิชาชีพ กฎหมายเกี่ยวกับครูและวิชาชีพครู เพื่อการเป็นครูที่มีสมรรถนะสูง มีความรอบรู้ ทันสมัย
 xxx xxx   xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx   ๒ (๒-๐-๔)   และทันต่อการเปลี่ยนแปลงบริบทโลก ประพฤติตนเป็นแบบอย่างด้านคุณธรรมและจริยธรรม สามารถส่งเสริม
    รวมหน่วยกิต   ๒๒   การเรียนรู้ ยอมรับความแตกต่างของผู้เรียน และสร้างแรงบันดาลใจให้ผู้เรียนทุกคนเป็นผู้ใฝ่เรียนรู้และสามารถ

                  เรียนรู้ได้อย่างทั่วถึง รวมถึงตระหนักถึงความส าคัญของการมีจิตอาสา การอุทิศตนและการมีส่วนร่วมกับชุมชน
 ชั้นปีที่ ๔
 ภาคการศึกษาที่ ๑   เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีจิตอาสาและอุทิศตนในการพัฒนาชุมชนและสังคมที่อยู่ดีมีสุขอย่างยั่งยืน
 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต   ๒๐๐ ๑๐๒    ภาษาและวัฒนธรรม                                      ๓ (๒-๒-๕)
                                (Language and Culture)

    หมวดวิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู  ๖  หน่วยกิต                     รู้ เข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของภาษาไทย วัฒนธรรมไทย การส่งเสริม อนุรักษ์
 ๒๐๐ ๔๑๒  ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา    ๖ (๐-๑๘-๐)   วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ภาษาและวัฒนธรรมต่างประเทศ มีทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
    รวมหน่วยกิต   ๖
                  ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ สามารถวิเคราะห์อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมที่ส่งผลกระทบต่อ
 ชั้นปีที่ ๔      สังคมและการด าเนินชีวิตเพื่อการสื่อสารและพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพ รวมทั้งสามารถใช้ภาษาและ
 ภาคการศึกษาที่ ๒   วัฒนธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
 รหัสวิชา   รายวิชา   หน่วยกิต   ๒๐๐ ๑๐๓    จิตวิทยาส าหรับครู                                   ๓ (๒-๒-๕)
    หมวดวิชากลุ่มพระพุทธศาสนา              (Psychology for Teachers)
 ๐๐๐ ๔๕๗  ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗    ๑ (๑-๒-๔)                  รู้และเข้าใจแนวคิดพื้นฐาน หลักการ และทฤษฎีทางจิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาการศึกษา
    หมวดวิชาเอกบังคับ       จิตวิทยาการให้ค าปรึกษาและการแนะแนว การให้ค าปรึกษาและการแนะแนวเชิงพุทธ เพื่อให้สามารถใช้
 ๒๐๓  ๔๑๓  สัมมนาทางสังคมศึกษา   ๓ (๒-๒-๕)   กระบวนการทางจิตวิทยาและการแนะแนวในการช่วยเหลือ ดูแล และพัฒนาผู้เรียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ
 ๒๐๓  ๔๑๔  ศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา   ๓ (๐-๖-๖)   โดยค านึงถึงวิธีการเรียนรู้ (Learning styles) ความต้องการ ความสนใจ และความถนัดของผู้เรียน รวมทั้ง
    หมวดวิชาเลือกเฉพาะสาขา      สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนได้อย่างเป็นระบบ
 ๒๐๓ ๔๒๐  ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาสังคม   ๒ (๑-๒-๓)   ๒๐๐ ๒๐๔    ปรัชญาการศึกษาและการพัฒนาหลักสูตร             ๓ (๒-๒-๕)

 ๒๐๓ ๔๒๑  ท้องถิ่นศึกษา   ๒ (๑-๒-๓)                (Educational Philosophy and Curriculum Development)
 ๒๐๓ ๔๒๒  พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่   ๒ (๒-๐-๔)         รู้และเข้าใจ แนวคิดทฤษฎีทางปรัชญาการศึกษา วิเคราะห์ความเชื่อมโยงของปรัชญา
 ๒๐๓  ๔๒๓  ประชากรกับสิ่งแวดล้อม   ๒ (๒-๐-๔)   การศึกษา พุทธปรัชญา ทฤษฎีหลักสูตร แนวคิดทางศาสนา เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ที่มีอิทธิพลต่อการ
 ๒๐๓  ๔๒๔  เพศวิถีและความสัมพันธ์ยุคดิจิทัล   ๒ (๒-๐-๔)   จัดการศึกษาไทย และสามารถบูรณาการเพื่อใช้ในการออกแบบและพัฒนานวัตกรรมหลักสูตร รวมทั้งสามารถ
    วิชาเลือกเสรี ๔ หน่วยกิต      น าหลักสูตรไปใช้ การประเมินหลักสูตร และน าผลการประเมินไปปรับปรุงหลักสูตรและจัดการศึกษาเพื่อ
    xxx xxx XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX    ๒ (๒-๐-๔)   เสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
    xxx xxx XXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXXX    ๒ (๒-๐-๔)
    รวมหน่วยกิต   ๒๑
   79   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89