Page 86 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 86
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๗๔ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๗๕ 75
๒๐๐ ๒๐๕ การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน ๓ (๒-๒-๕) ๒๐๐ ๒๑๐ ปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา ๒ ๒ (๑-๒-๓)
(Learning Design and Classroom Management) (Practicum in School 2)
รู้ เข้าใจ และวิเคราะห์แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการออกแบบการเรียนรู้ บูรณาการความรู้ รู้และเข้าใจการจัดท าแผนการเรียนรู้ การจัดท าสื่อและเทคโนโลยี การออกแบบทดสอบ
เนื้อหาวิชา หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้และ ข้อสอบหรือเครื่องมือวัดผล การตรวจข้อสอบ การให้คะแนนและการตัดสินผลการเรียน การสอบภาคปฏิบัติ
ยุทธวิธีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การบริหารจัดการและสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อ และการให้คะแนน เพื่อน าไปฝึกปฏิบัติการสอนแบบจุลภาคในสถานการณ์จ าลอง และปฏิบัติงานผู้ช่วยครู
การเรียนรู้ เพื่อบูรณาการความรู้ทั้งมวลไปใช้ในการวางแผนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น ร่วมกับครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษา สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพ เพื่อพัฒนาตนเองให้
ศูนย์กลาง รวมทั้งสามารถจัดท าแผนการเรียนรู้แบบลงมือท า (Active learning) และแผนการเรียนรู้เชิง มีความรอบรู้ ทันสมัย และทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning) ที่ประยุกต์ใช้ได้จริงในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดปัญญารู้คิด ๒๐๐ ๓๑๑ ปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา ๓ ๒ (๐-๔-๒)
และมีความเป็นนวัตกรรม (Practicum in School 3)
๒๐๐ ๒๐๖ นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ๓ (๒-๒-๕) ปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา วางแผน ออกแบบเนื้อหากิจกรรมการจัดการเรียนรู้ สื่อและ
(Innovation and Information Technology in Education) เทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ในรายวิชาเอก แก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนโดย
รู้และเข้าใจ แนวคิด ทฤษฎีและความส าคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยี กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน บันทึกข้อมูลและน าเสนอผลการศึกษาเมื่อสิ้นสุดการ
สารสนเทศทางการศึกษา สามารถใช้นวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการ ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ เข้าร่วมโครงการที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม อนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่นและน า
สื่อสาร เพื่อการออกแบบ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัย ผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนเป็นรายบุคคลและร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชน
เพื่อพัฒนาผู้เรียน แห่งการเรียนรู้ สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติวิชาชีพ เพื่อพัฒนาตนเองให้มีความรอบรู้
๒๐๐ ๓๐๗ การวัดประเมินการเรียนรู้และคุณภาพผู้เรียน ๓ (๒-๒-๕) ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง
(Learning and Learner Assessment) ๒๐๐ ๔๑๒ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๖ (๐-๑๘-๐)
รู้ เข้าใจ และวิเคราะห์ แนวคิดทฤษฎี หลักการและกระบวนการวัดประเมินการเรียนรู้ (School Internship)
เครื่องมือและวิธีการวัดประเมินผลการเรียนรู้แบบต่างๆ การออกแบบ สร้าง การพัฒนาและเลือกใช้เครื่องมือ ปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีมีคุณธรรมและจริยธรรมตาม
และวิธีการวัดประเมินการเรียนรู้ การตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งเป็นรายบุคคลและชั้นเรียน โดยค านึงถึง จรรยาบรรณวิชาชีพ สามารถบูรณาการความรู้ในวิชาชีพครูและวิชาเอกสู่การปฏิบัติการสอน โดยใช้กลยุทธ์การ
มาตรฐานทางจริยธรรมและคุณภาพของการวัดประเมิน ความเหมาะสมกับบริบทชั้นเรียนและความแตกต่าง สอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆได้ สามารถวัดและประเมินผลและน าผลไป
ระหว่างผู้เรียน เพื่อให้สามารถออกแบบการวัดประเมินการเรียนรู้ ส าหรับแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน ใช้ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถท าวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจาก
ออกแบบและด าเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา สถานศึกษา ร่วมมือกับผู้ปกครองและชุมชนในการพัฒนาและแก้ปัญหาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์
๒๐๐ ๔๐๘ การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ ๓ (๒-๒-๕) สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
(Research for Learning Development)
รู้และเข้าใจ ความส าคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน วิธีวิทยาการวิจัยรูปแบบต่างๆ เน้น วิชาบังคับ ไม่น้อยกว่า ๔๐ หน่วยกิต
การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การน าผลการวิจัยไปพัฒนาการเรียนการสอน การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล ๒๐๓ ๒๐๑ สังคมสมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัย สถิติเบื้องต้นที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล (Contemporary Society)
การเขียนโครงร่างการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย เพื่อน าไปใช้ในการท าวิจัยส าหรับแก้ปัญหาและ ความรู้เบื้องต้นทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา แนวคิดและทฤษฎีทางสังคมวิทยาและ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน มานุษยวิทยา โครงสร้างและลักษณะของสังคมวิทยาและมานุษยวิทยาต่อการศึกษาเรื่องสังคม การจัดระเบียบ
ทางสังคม สถานภาพและบทบาทของสถาบันทางสังคม ความสัมพันธ์ของคนในสังคมวัฒนธรรมและแบบแผน
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ๑๒ หน่วยกิต ความประพฤติของคนในสังคม การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมในยุคดิจิทัล การน าเอาความรู้ทาง
๒๐๐ ๑๐๙ ปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา ๑ ๒ (๑-๒-๓) สังคมวิทยาและมานุษยวิทยาไปประยุกต์ใช้ในสังคมสมัยใหม่และน าไปสู่การแก้ไขปัญหาทางสังคม
(Practicum in School 1) ๒๐๓ ๒๐๒ เศรษฐศาสตร์ร่วมสมัย ๓ (๓-๐-๖)
รู้ เข้าใจ และศึกษาสังเกตสภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงเรียน สภาพงานครู การจัดการเรียนรู้ (Contemporary Economy)
ในสภาพห้องเรียน เพื่อน ามาวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเรียนรู้ใน ความหมาย ขอบเขต หลักการ แนวคิด ทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์จุลภาค
สถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และน าผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับเป็น และมหภาค การผลิต การบริโภค อุปสงค์ อุปทาน การออม การลงทุนของภาครัฐและเอกชน รายได้
รายบุคคล และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อน าไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความ ประชาชาติ นโยบายของรัฐด้านเศรษฐกิจ การค้าระหว่างประเทศ การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ วิเคราะห์
รอบรู้ ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู กลไกทางเศรษฐกิจ การพัฒนาเศรษฐกิจ วิเคราะห์สภาพเศรษฐกิจ วิสาหกิจชุมชน เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ให้ผู้เรียนลงพื้นที่เพื่อศึกษาเพิ่มเติมด้านเศรษฐกิจและการประยุกต์ใช้ โดยเน้น
กระบวนการคิดวิเคราะห์ สามารถน าไปปรับใช้ในวิชาชีพ