Page 90 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 90
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๗๘ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๗๙ 79
๒๐๓ ๓๑๗ ภูมิศาสตร์กายภาพ ๒ (๒-๐-๔) ๒๐๓ ๓๒๕ ประวัติศาสตร์เอเชีย ๒ (๒-๐-๔)
(Physical Geography) (Asia History)
สัณฐานของโลกและปรากฏการณ์ที่เกิดเนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างโลกกับดวงอาทิตย์และ ประวัติศาสตร์ยุคโบราณ ประวัติศาสตร์ตะวันออกกลาง ประวัติศาสตร์เอเชียใต้ ประวัติเอเชีย
ดวงจันทร์ สมบัติทางด้านกายภาพ และการเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค (Lithosphere) อุทกภาค กลาง ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เน้นศึกษาอารยธรรมและ
(Hydrosphere) บรรยากาศ (Atmosphere) และชีวมณฑล (Biosphere) พัฒนาการด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของแต่ละภูมิภาค
๒๐๓ ๓๑๘ พุทธวิธีการสอน ๒ (๑-๒-๓) ๒๐๓ ๓๒๖ ประวัติศาสตร์อเมริกา ๒ (๒-๐-๔)
(Buddha’s Teaching Methods) (America History)
วิเคราะห์หลักและวิธีการสอนของพระพุทธเจ้า การวิเคราะห์ธรรมชาติของผู้เรียน คุณสมบัติ ประวัติศาสตร์สหรัฐอเมริกา ตั้งแต่ก่อนการตั้งถิ่นฐานของชาวยุโรป อาณานิคมอเมริกาของ
ของผู้สอน วัตถุประสงค์ในการสอน เทคนิคและวิธีการสอนตามแนวพุทธวิธี กระบวนการออกแบบการสอน อังกฤษ ปฏิวัติอเมริกัน การสร้างชาติ การบุกเบิกดินแดนตะวันตก (Manifest Destiny) สงครามกลางเมือง
ตามแนบพุทธวิธี สหรัฐอเมริการะหว่างสงครามโลก สงครามเย็นและปัญหาการเมืองยุค ๖๐-๘๐ สหรัฐอเมริกาหลังสงครามเย็น
๒๐๓ ๓๑๙ ศาสนาสัมพันธ์ ๒ (๒-๐-๔) ๒๐๓ ๔๓๓ จริยศาสตร์และจริยธรรมสิ่งแวดล้อม ๒ (๒-๐-๔)
(Relative Religions) (Ethics and Morality Environmental)
ประวัติ หลักค าสอน เป้าหมาย วิธีการ โดยการศึกษาความสัมพันธ์ศาสนาต่างๆ เพื่อให้เข้าใจ ปัญหาและการแก้ปัญหาที่สัมพันธ์กับจริยธรรมสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์และการให้คุณค่า
ในศาสนาต่างๆ ด้านหลักค าสอน หลักปฏิบัติและแนวทางในการอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข สิ่งแวดล้อมโดยใช้ขนบธรรมเนียมประเพณีและทฤษฎีจริยธรรมสิ่งแวดล้อม แนวคิดการพัฒนาที่ยั่งยืนที่มีส่วน
๒๐๓ ๔๒๐ ศาสตร์พระราชากับการพัฒนาสังคม ๒ (๑-๒-๓) ร่วมของชุมชนท้องถิ่นเพื่อแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมและความขัดแย้งทางสังคมอันเนื่องมาจากการใช้ประโยชน์
(The King’s Pilosophy ) จากทรัพยากรธรรมชาติ
พระมหากษัตริย์กับการพัฒนาสังคมไทย การน าแนวทางการสอนของพระมหากษัตริย์ไป ๒๐๓ ๓๒๘ ภูมิศาสตร์โลก ๒ (๒-๐-๔)
จัดการเรียนรู้ในสถานศึกษา พระมหากษัตริย์ผู้เป็นครูของแผ่นดิน แนวทางปรัชญาต่างๆ ที่ใช้ในการพัฒนา (The World Geography)
สังคม โครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริและพระราชกรณียกิจที่พัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม ศึกษาลักษณะภูมิประเทศ ภูมิอากาศ ประชากร ทรัพยากรธรรมชาติ ปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่มี
๒๐๓ ๔๒๑ ท้องถิ่นศึกษา ๒ (๑-๒-๓) ผลต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและโอเซียเนีย ทวีปยุโรป ทวีป
(Local Studies) อเมริกาเหนือ ทวีปอเมริกาใต้ ทวีปแอฟริกา และทวีปแอนตาร์กติกา
ความหมาย ความส าคัญ คุณค่า หลักฐานสถานที่ส าคัญและวิธีการทางประวัติศาสตร์ ๒๐๓ ๔๓๔ การปกครองส่วนท้องถิ่น ๒ (๒-๐-๔)
ขนบธรรมเนียม จารีตประเพณี วัฒนธรรม ความเชื่อของท้องถิ่น สภาพภูมิศาสตร์ ประชากร เศรษฐกิจ (Local Government)
การเมืองการปกครอง การคมนาคมขนส่ง การท่องเที่ยว การศึกษา และศาสนาของท้องถิ่น มีจิตอาสาโดยการ ความหมาย ความส าคัญของการปกครองท้องถิ่นการกระจายอ านาจ การปกครอง โครงสร้าง
ลงพื้นที่ในการพัฒนาชุมชน และรูปแบบของการปกครองส่วนท้องถิ่น และรัฐบาล ระบบการบริหารของหน่วยงาน การปกครองส่วนท้องถิ่น
๒๐๓ ๔๒๒ พัฒนาการทางสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ๒ (๒-๐-๔) ในด้านต่างๆ การถ่ายโอนการศึกษากับการปกครองส่วนท้องถิ่น ปัญหาและอุปสรรคในการปกครองส่วน
(Development of Modern Society and Culture) ท้องถิ่น
พัฒนาการของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน ด้านปรากฏการณ์ ๒๐๓ ๔๓๒ การวิจัยทางสังคมศึกษา ๒ (๑-๒-๓)
องค์ประกอบ และพัฒนาการ การก่อตัวของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ปัญหา สิ่งท้าทายและวิกฤติของ (Social Studies Research)
สังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ ความสัมพันธ์เชื่อมโยงของพัฒนาการของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่กับก าเนิด ศึกษาแนวทาง รูปแบบ วิธีการและกระบวนการ การวิจัยทางการเรียนการสอนสังคมศึกษา
ความรู้และภูมิปัญญาสมัยใหม่ที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ การผสมผสาน ฝึกการออกแบบงานวิจัยที่เหมาะสมในการศึกษาค้นคว้า เพื่อพัฒนาการเรียนการสอนสังคมศึกษา และการ
และการอยู่ร่วมกันอย่างสันติในสังคมและวัฒนธรรมสมัยใหม่ บูรณาการหลักพุทธธรรมกับทฤษฎีอื่น
๒๐๓ ๔๒๓ ประชากรกับสิ่งแวดล้อม ๒ (๒-๐-๔) ๒๐๓ ๓๓๐ การใช้สื่อและเทคโนโลยีทางสังคมศึกษา ๒ (๑-๒-๓)
(Population and Environment) (Usage of Media and Technology in Social Studies)
ความหมาย ความส าคัญองค์ประกอบทางประชากรศาสตร์ สถานการณ์เกี่ยวกับประชากร การผลิตและออกแบบสื่อโดยใช้วัสดุในท้องถิ่นและการน าเทคโนโลยีเข้ามามีส่วนร่วมในการ
แนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชากร ความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่งแวดล้อม สถานการณ์และ ผลิต การประยุกต์ใช้สื่อที่มีอยู่ในท้องถิ่นอย่างสร้างสรรค์ และต่อยอดการสร้างและการใช้สื่อนวัตกรรมเข้ามา
วิกฤตการณ์สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยการพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อมและ บูรณาการกับการเรียนการสอนสังคมศึกษาเพื่อตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาศักยภาพของ
ทรัพยากรธรรมชาติที่ยั่งยืนโดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคมและ ผู้เรียน
สามารถประยุกต์ใช้ในการด าเนินชีวิต ๒๐๓ ๔๓๑ ภาวะผู้น าทางสังคม ๒ (๒-๐-๔)
(Social Leadership)
แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้น า ทฤษฎีภาวะผู้น า ทักษะต่างๆ ที่ผู้น าต้องใช้ในสังคม การสร้าง
มนุษยสัมพันธ์ การพัฒนาภาวะผู้น า และคุณลักษณะผู้น าทางสังคมตามแนวพุทธศาสตร์ โดยการออกแบบ
กิจกรรม/โครงงานเชิงบูรณาการที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนเป็นผู้น าทางสังคม