Page 85 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 85

74  | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
                  ๗๔                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น


                  ๒๐๐ ๒๐๕    การออกแบบการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน                           ๓ (๒-๒-๕)
                                (Learning Design and Classroom Management)
                                รู้ เข้าใจ และวิเคราะห์แนวคิด หลักการ ทฤษฎีการออกแบบการเรียนรู้ บูรณาการความรู้
                  เนื้อหาวิชา หลักสูตร ศาสตร์การสอน และเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้ รูปแบบการจัดการเรียนรู้และ
                  ยุทธวิธีการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ การบริหารจัดการและสร้างบรรยากาศในชั้นเรียน การจัดสิ่งแวดล้อมเพื่อ
                  การเรียนรู้ เพื่อบูรณาการความรู้ทั้งมวลไปใช้ในการวางแผนออกแบบกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น
                  ศูนย์กลาง รวมทั้งสามารถจัดท าแผนการเรียนรู้แบบลงมือท า (Active learning) และแผนการเรียนรู้เชิง
                  ปฏิสัมพันธ์ (Interactive Learning) ที่ประยุกต์ใช้ได้จริงในสถานศึกษา เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดปัญญารู้คิด
                  และมีความเป็นนวัตกรรม
                  ๒๐๐ ๒๐๖       นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา                          ๓ (๒-๒-๕)
                                (Innovation and Information Technology in Education)
                                 รู้และเข้าใจ แนวคิด ทฤษฎีและความส าคัญของนวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยี
                  สารสนเทศทางการศึกษา สามารถใช้นวัตกรรมทางการศึกษาและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาเพื่อการ
                  สื่อสาร เพื่อการออกแบบ พัฒนาหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ การวัดประเมินผลการเรียนรู้ และการวิจัย
                  เพื่อพัฒนาผู้เรียน
                  ๒๐๐ ๓๐๗    การวัดประเมินการเรียนรู้และคุณภาพผู้เรียน                           ๓ (๒-๒-๕)
                                (Learning and Learner Assessment)
                                รู้ เข้าใจ และวิเคราะห์ แนวคิดทฤษฎี หลักการและกระบวนการวัดประเมินการเรียนรู้
                  เครื่องมือและวิธีการวัดประเมินผลการเรียนรู้แบบต่างๆ การออกแบบ สร้าง การพัฒนาและเลือกใช้เครื่องมือ
                  และวิธีการวัดประเมินการเรียนรู้ การตัดสินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนทั้งเป็นรายบุคคลและชั้นเรียน โดยค านึงถึง

                  มาตรฐานทางจริยธรรมและคุณภาพของการวัดประเมิน ความเหมาะสมกับบริบทชั้นเรียนและความแตกต่าง
                  ระหว่างผู้เรียน เพื่อให้สามารถออกแบบการวัดประเมินการเรียนรู้ ส าหรับแก้ปัญหาและพัฒนาผู้เรียน
                  ออกแบบและด าเนินการเกี่ยวกับงานประกันคุณภาพการศึกษา
                  ๒๐๐ ๔๐๘       การวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้                                    ๓ (๒-๒-๕)
                                (Research for Learning Development)
                                   รู้และเข้าใจ ความส าคัญของการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน วิธีวิทยาการวิจัยรูปแบบต่างๆ เน้น
                  การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน การน าผลการวิจัยไปพัฒนาการเรียนการสอน การรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล
                  โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การสร้างเครื่องมือเพื่อใช้ในการวิจัย สถิติเบื้องต้นที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
                  การเขียนโครงร่างการวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย เพื่อน าไปใช้ในการท าวิจัยส าหรับแก้ปัญหาและ
                  พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน

                                วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ  ๑๒ หน่วยกิต
                  ๒๐๐ ๑๐๙     ปฏิบัติวิชาชีพในสถานศึกษา ๑                                        ๒ (๑-๒-๓)
                                (Practicum in School 1)
                                รู้ เข้าใจ และศึกษาสังเกตสภาพแวดล้อมทั่วไปของโรงเรียน สภาพงานครู  การจัดการเรียนรู้
                  ในสภาพห้องเรียน เพื่อน ามาวิเคราะห์การปฏิบัติหน้าที่ครู ถอดบทเรียนจากประสบการณ์การเรียนรู้ใน
                  สถานศึกษา สังเคราะห์องค์ความรู้และน าผลจากการเรียนรู้ในสถานศึกษาไปประเมินสะท้อนกลับเป็น
                  รายบุคคล และร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในรูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้เพื่อน าไปใช้ในการพัฒนาตนเองให้มีความ
                  รอบรู้ ทันสมัยและทันต่อการเปลี่ยนแปลง โดยประพฤติปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครู
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90