Page 88 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 88
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๗๖ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๗๗ 77
๒๐๓ ๒๐๓ ประวัติศาสตร์ไทยเชิงวิเคราะห์ ๓ (๓-๐-๖) ๒๐๓ ๓๑๐ พลเมืองกับการพัฒนาสังคม ๓ (๓-๐-๖)
(Analytical History of Thailand) (Citizens and Social Development)
วิธีการทางประวัติศาสตร์ วิวัฒนาการชาติไทยด้านการเมืองและการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม สิทธิมนุษยชน บทบาท หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพและหน้าที่ของพลเมือง คุณลักษณะพลเมืองที่
และวัฒนธรรม และความสัมพันธ์กับต่างประเทศ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยกรุง เข้มแข็งของประเทศชาติและสังคมโลก การเป็นพลเมืองดีตามระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็น
ธนบุรีและรัตนโกสินทร์ และสถานการณ์ชาติไทยในปัจจุบันในเชิงวิเคราะห์ ประมุข ลักษณะที่ดีของคนไทยการประยุกต์ใช้หลักธรรมทางศาสนา การอยู่ร่วมกันในสังคมที่มีความ
๒๐๓ ๒๐๔ ภูมิศาสตร์ประเทศไทย ๓ (๓-๐-๖) หลากหลายการเรียนรู้ประชาธิปไตยในโรงเรียนและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจ าวัน
(Geography of Thailand) ๒๐๓ ๓๑๑ สื่อและนวัตกรรมการสอนสังคมศึกษา ๒ (๑-๒-๓)
แนวคิดเกี่ยวกับภูมิศาสตร์ภูมิภาค การวิเคราะห์สภาพภูมิศาสตร์ของประเทศไทยทั้งทางด้าน (Media and Innovation in Teaching Social Studies)
ที่ตั้ง อาณาเขต ลักษณะทางด้านกายภาพ ลักษณะทางด้านเศรษฐกิจ ประชากร การวิเคราะห์ความสามารถใน ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อและนวัตกรรมการศึกษา วิเคราะห์ ออกแบบ ผลิต ทดลอง
การผลิตเชิงการเกษตร อุตสาหกรรมการค้า การคมนาคมขนส่ง และการศึกษาแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ประเมิน การน าไปใช้และการพัฒนาสื่อและนวัตกรรมการสอนสังคมศึกษา
แห่งชาติฉบับปัจจุบัน เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ตามสภาพจริง ๒๐๓ ๓๑๒ ภาษาอังกฤษทางสังคมศึกษา ๓ (๓-๐-๖)
๒๐๓ ๓๐๕ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาสังคม ๓ (๓-๐-๖) (English for Social Studies)
(Buddhism and Social Development) ความส าคัญของภาษาอังกฤษต่อสาขาวิชาสังคมศึกษา ค าศัพท์ภาษาอังกฤษครอบคลุมเนื้อหา
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมตามแนวทางพระพุทธศาสนา ที่มีอิทธิพลต่อการ แขนงหลักทางสังคมศาสตร์ ได้แก่ คือ ศัพท์ศาสนาและปรัชญา ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รัฐศาสตร์ นิติศาสตร์
เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม ในการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและการปกครองของไทย สังคมวิทยา และเศรษฐศาสตร์ การฟัง อ่าน พูด และเขียนในระดับชีวิตประจ าวัน และระดับวิชาการ
๒๐๓ ๓๐๖ ประวัติศาสตร์ร่วมสมัย ๓ (๓-๐-๖) ๒๐๓ ๔๑๓ สัมมนาสังคมศึกษา ๓ (๒-๒-๕)
(Contemporary History) (Seminar on Social Studies)
พัฒนาการประวัติศาสตร์ร่วมสมัยตั้งแต่หลังสงครามโลก ครั้งที่ ๒ จนถึงปัจจุบัน โดยเน้น รูปแบบ วิธีการจัดการสัมมนา การศึกษานอกสถานที่เป็นกรณีศึกษาด้านสังคมศึกษา การจัด
การศึกษาวิเคราะห์ถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้น อันมีผลกระทบต่อสังคมโลกโดยรวม กิจกรรมสัมมนาสังคมศึกษาโดยนิสิตเพื่อพัฒนาทักษะร่วมกัน โดยความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษา
๒๐๓ ๓๐๗ วิทยาการจัดการเรียนรู้ทางสังคมศึกษา ๒ (๑-๒-๓) ๒๐๓ ๔๑๔ ศึกษาอิสระทางสังคมศึกษา ๓ (๐-๖-๖)
(Science of Social Studies Learning Management) (Independent Study in Social Studies)
ทฤษฎีการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาสมัยใหม่ วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น ค้นคว้าวิจัยภาคสนามทางสังคมศึกษา ที่สามารถน าหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหรือ
พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม วิเคราะห์แบบเรียน ออกแบบการจัดการ ผสมผสานทฤษฎีอื่นๆ ไปประยุกต์ใช้ได้จริงในเชิงปฏิบัติและในกิจการทางพระพุทธศาสนา ผ่านกระบวนการ
เรียนรู้ทางสังคมศึกษาเพื่อสอดคล้องบริบทชุมชน เทคนิคและกระบวนการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษาสู่การ เรียนรู้โดยใช้การวิจัยเป็นฐาน (Research Based Learning) โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่
ปฏิบัติในชั้นเรียน การวัดผลและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สังคมศึกษา การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน ปรึกษา
ศตวรรษที่ ๒๑
๒๐๓ ๓๐๘ ความรู้ทั่วไปทางรัฐศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖) วิชาเลือก ๒๐ หน่วยกิต
(General Knowledge in Political Sciences) ๒๐๓ ๒๑๕ ภาษาอังกฤษส าหรับครูสังคมศึกษา ๑ ๒ (๒-๐-๔)
ความหมาย ขอบข่ายและปรัชญาของรัฐศาสตร์ แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้งและอุดมการณ์ (English for Teachers Social Studies 1)
ทางการเมือง ระบบและลัทธิทางการเมือง อ านาจทางการเมือง รูปแบบการปกครอง การเลือกตั้ง สิทธิเสรีภาพ อ่านจับใจความส าคัญของข้อความทั่วๆ ไป อ่านรายงานอย่างง่ายส าหรับหัวข้อที่คุ้นเคยและ
และการมีส่วนร่วมของประชาชนตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เขียนในประเด็นที่คุ้นเคยหรือมีความสนใจ บรรยายประสบการณ์ เหตุการณ์ ความคิดฝัน ความหวัง พร้อมให้
๒๐๓ ๓๐๙ เทคโนโลยีภูมิศาสตร์สารสนเทศ ๓ (๒-๒-๕) เหตุผลสั้นๆ ได้ โต้ตอบกับผู้ที่พูดภาษาอังกฤษเกี่ยวกับหัวข้อที่คุ้นเคย สื่อสารเรื่องที่ง่ายและเป็นกิจวัตรที่ต้องมี
(Geo-informatic Technology) การแลกเปลี่ยนข้อมูลโดยตรงและไม่ยุ่งยากเกี่ยวกับสิ่งที่คุ้นเคยหรือท าเป็นประจ าการสื่อสารในสถานที่ท างาน
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภูมิสารสนเทศ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการใช้แผนที่ ระบบสารสนเทศ และการฝึกปฏิบัติทักษะการสื่อสารตามสถานการณ์ต่างๆ
ภูมิศาสตร์และการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ หลักการรับรู้ระยะไกล (Remote Sensing) และ ๒๐๓ ๓๑๖ ภาษาอังกฤษส าหรับครูสังคมศึกษา ๒ ๒ (๒-๐-๔)
ระบบก าหนดต าแหน่งบนพื้นโลกด้วยดาวเทียม (GPS) ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (GIS) แผนที่บน (English for Teachers Social Studies 2)
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพื้นที่การฝึกปฏิบัติภาคสนามโดยการประยุกต์ใช้ ใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสารและการน าเสนอ โดยเชื่อมโยงหัวข้อที่คุ้นเคยหรือหัวข้อที่
โปรแกรมที่เกี่ยวข้องกับภูมิสารสนเทศในชีวิตประจ าวัน และวิทยาการสอนภูมิสารสนเทศ เกี่ยวข้องกับความสนใจได้ บรรยายความรู้สึกที่มีต่อหัวข้อเหล่านั้น และถามความคิดเห็นของผู้อื่น เขียน
เกี่ยวกับหัวข้อที่คุ้นเคยได้หลากหลาย เช่น ประสบการณ์ เหตุการณ์ ความคิด ความฝันและเขียนจดหมายที่
เป็นรูปแบบมาตรฐานเกี่ยวข้องกับเรื่องที่สนใจ