Page 106 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 106
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๙๔ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๙๕ 95
๒๐๔ ๔๓๗ วรรณคดีพระพุทธศาสนา ๒ (๒-๐-๔) หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
(Literature in Buddhism) สาขาวิชาการสอนภาษาไทย (หลักสูตร ๔ ปี) ปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒
ลักษณะ ประเภท วัตถุประสงค์ ปรัชญา คุณค่า และอิทธิพลของวรรณคดีพระพุทธศาสนา
ตลอดจนวรรณคดีชาดก และเลือกศึกษาวรรณคดีพระพุทธศาสนาที่ส าคัญโดยละเอียด ๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
กลุ่มวิชาทักษะการใช้ภาษา รหัสหลักสูตร : ๒๕๕๐๑๘๕๑๑๐๐๒๗๑
๒๐๔ ๔๒๙ ส านวนไทย ๒ (๒-๐-๔) ภาษาไทย : ครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
(Thai Idioms) ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Education Program in Teaching Thai Language
ที่มา ความหมาย ลักษณะ รูปแบบ และพัฒนาการของส านวน ภาษิต ค าพังเพยและความ
เปรียบในภาษาไทย ความสัมพันธ์ระหว่างส านวนไทยกับวัฒนธรรม เปรียบเทียบส านวนไทยในแต่ละภูมิภาค ๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
และเปรียบเทียบส านวนไทยกับส านวนต่างประเทศ ชื่อเต็ม (ไทย) : ครุศาสตรบัณฑิต (การสอนภาษาไทย)
๒๐๔ ๔๓๐ ภาษาสื่อสารมวลชน ๒ (๒-๐-๔) ชื่อย่อ (ไทย) : ค.บ. (การสอนภาษาไทย)
(Language for Mass Communication) ชื่อเต็ม (อังกฤษ) : Bachelor of Education (Teaching Thai Language)
ความส าคัญของภาษาสื่อสารมวลชน การวิเคราะห์สารในสื่อประเภทต่างๆ การใช้ภาษาผ่าน ชื่อย่อ (อังกฤษ) : B.Ed. (Teaching Thai Language)
สื่ออิเล็กทรอนิกส์
๒๐๔ ๔๓๘ วิเคราะห์แบบเรียนภาษาไทย ๒ (๒-๐-๔) ๓. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร
(Thai Textbooks Analysis) เป็นหลักสูตรที่มุ่งสร้างความรู้ความเข้าใจในหลักภาษา และทักษะในการใช้ภาษาไทยซึ่งเป็นภาษา
ศึกษาความเป็นมาของหนังสือเรียนภาษาไทย นับตั้งแต่หนังสือจินดามณี จนถึงหนังสือเรียน ราชการของประเทศ โดยจัดการเรียนการสอนทั้งทฤษฎีและปฏิบัติและวิชาชีพ เพื่อการสื่อสารท างานร่วมกับ
ภาษาไทยระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตามหลักสูตรปัจจุบัน โดยวิเคราะห์วัตถุประสงค์ เนื้อหา การใช้ คนอื่นและถ่ายทอดวิชาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
ภาษา กิจกรรม การเรียนการสอน การประเมินผลหนังสือเรียนในระดับต่าง ๆ การใช้หนังสือเรียนเพื่อการเรียน
การสอน การเปรียบเทียบการจัดหนังสือเรียนภาษาไทยของแต่ละหลักสูตร ๔. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
เพื่อผลิตบัณฑิตสาขาวิชาการสอนภาษาไทย ให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ดังนี้
กลุ่มวิชาการสอนภาษาไทย ๑. มีความรู้ ความเข้าใจในภาษาไทย
๒๐๔ ๓๑๔ การใช้เทคโนโลยีช่วยสอนภาษาไทย ๒ (๑-๒-๓) ๒. มีทักษะด้านการสอน ด้านการคิดวิเคราะห์เชิงตัวเลข และการสื่อสารเทคโนโลยี
(Usage of Visual Aid in Teaching Thai) ๓. สามารถพัฒนารูปแบบการสอน และจัดการเรียนรู้วิชาภาษาไทยอย่างต่อเนื่อง
หลักการพื้นฐานเกี่ยวกับเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการจัดการ ๔. สามารถน าความรู้ทางภาษาไทยไปประยุกต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
เรียนการสอน การสร้างบทเรียนออนไลน์ การผลิตสื่อการศึกษา การสร้างแบบทดสอบ การประเมินผล ๕. เป็นผู้น าด้านการสอนภาษาไทยที่มีคุณธรรม ศีลธรรม และมนุษยธรรม
การศึกษา ระบบ m-Learning และนวัตกรรมต่างๆ เพื่อการสอนภาษาไทย ๖. มีจิตอาสาในการให้บริการช่วยเหลือบุคคลตามจรรยาบรรณวิชาชีพ
๒๐๔ ๔๓๒ การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒ (๒-๐-๔) ๗. มีความรับผิดชอบและมีความสัมพันธ์ที่ดีกับชุมชน
(Management for Learning Thai Subject Group)
แนวคิด รูปแบบ กลวิธีการจัดกิจกรรม การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย การสังเกต ๕. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
และการฝึกงานครู การศึกษาปัญหาและการแก้ปัญหา การบูรณาการ การเรียนรู้ภาษาไทยกับหลักธรรมทาง ๑. หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๒ ปรับปรุงจากหลักสูตร พ.ศ. ๒๕๖๑ เปิดสอนภาคการศึกษาที่ ๑
พระพุทธศาสนาและกลุ่มสาระอื่นๆ ปีการศึกษา ๒๕๖๒
๒๐๔ ๔๓๓ การวัดและประเมินผลกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ๒ (๒-๐-๔) ๒. สภาวิชาการมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เห็นชอบหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่
(Measurement and Evaluation of Thai Subject Group) ๔/๒๕๖๒ เมื่อวันที่ ๒๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
หลักการวัดและประเมินผล ประเภท รูปแบบ กระบวนการวัดและการจัดเก็บข้อมูลเพื่อ ๓. สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในคราวประชุม ครั้งที่ ๔/๒๕๖๒
ประเมินและรายงานผล เมื่อวันที่ ๓๐ เดือน เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒
๒๐๔ ๔๓๔ การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ๒ (๒-๐-๔)
(Teaching Thai for Foreign Language) ๖. โครงสร้างหลักสูตร
เทคนิควิธีการสอนภาษาไทย การออกแบบวิธีสอนโดยเน้นสัมพันธ์การใช้ทักษะทางภาษา
การฟัง พูด อ่าน เขียน และการน าไปใช้เพื่อการสื่อสาร การสร้างนวัตกรรมการเรียนการสอน การเรียนรู้ โครงสร้างหลักสูตร แบ่งเป็นหมวดวิชาที่สอดคล้องกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์
ภาษาไทยที่สัมพันธ์กับวัฒนธรรม การประเมินผลการเรียนรู้ภาษาตามสภาพจริง มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. ๒๕๕๘ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับ
ปริญญาตรี สาขาครุศาสตร์และสาขาศึกษาศาสตร์ (หลักสูตร ๔ ปี) พ.ศ. ๒๕๖๒ และประกาศคุรุสภา เรื่อง
การรับรองปริญญาและประกาศนียบัตรบัณฑิตทางการศึกษา เพื่อการประกอบวิชาชีพ พ.ศ. ๒๕๕๗ ดังนี้