Page 103 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 103
92 | คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๙๒ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น
๒๐๔ ๔๑๙ การวิจัยทางการสอนภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
(Research Methodology for Teaching Thai)
ระเบียบวิธีวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทย ฝึกออกแบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการ
สอนภาษาไทย การเลือกหัวข้อและการเขียนโครงร่างวิจัย การก าหนดวัตถุประสงค์และกรอบความคิด การเก็บ
รวบรวมข้อมูลแบบต่างๆ การจ าแนก วิเคราะห์ และการตีความข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย
๒๐๔ ๔๒๑ ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย ๓ (๐-๖-๖)
(Independent Studies in Teaching Thai)
ค้นคว้าวิจัยภาคสนามทางการสอนภาษาไทย ที่สามารถประยุกต์ใช้ในการสอนภาษาไทย
โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา
วิชาเลือก ๒๐ หน่วยกิต
กลุ่มวิชาหลักภาษา ๖ หน่วยกิต
๒๐๔ ๓๑๒ ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
(Pali and Sanskrit in Thai)
ประวัติและลักษณะภาษาบาลีและสันสกฤต การยืมค าภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ใน
ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงทางเสียง ค า และความหมาย ตลอดจนหลักการสังเกตค าบาลีและสันสกฤตที่ใช้ใน
ภาษาไทย
๒๐๔ ๔๒๒ ภาษาเขมรในภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
(Khmer in Thai)
ประวัติและลักษณะภาษาเขมร การยืมค าภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงทาง
เสียง ค าและความหมาย ตลอดจนหลักการสังเกตค าเขมรใช้ในภาษาไทย
กลุ่มวิชาวรรณคดีและวัฒนธรรมไทย ๘ หน่วยกิต
๒๐๔ ๔๒๓ วรรณคดีวิจารณ์ ๓ (๓-๐-๖)
(Literary Criticism)
หลักเกณฑ์ ทฤษฎีและแนวการวิจารณ์วรรณคดีประเภทต่างๆ วิจารณ์วรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยประเภทต่างๆ ในแต่ละยุคสมัย
๒๐๔ ๔๒๔ วรรณกรรมกับทัศนศิลป์ ๓ (๓-๐-๖)
(Literary Works and Visual Arts)
ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ทั้งของราช
ส านักและท้องถิ่น อิทธิพลของวรรณกรรมที่มีต่อทัศนศิลป์ และอิทธิพลของทัศนศิลป์ที่มีต่อวรรณกรรม
๒๐๔ ๔๒๕ วิวัฒนาการของวรรณคดีไทย ๒ (๒-๐-๔)
(Evolution of Thai Literature)
ประวัติวรรณคดีไทยสมัยต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของวรรณคดีในด้านรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด
ความสัมพันธ์กับสังคมไทย อิทธิพลของวรรณคดีต่างประเทศที่มีต่อวรรณคดีไทย
กลุ่มวิชาทักษะการใช้ภาษา ๓ หน่วยกิต
๒๐๔ ๔๒๘ การเขียนเชิงสร้างสรรค์ ๓ (๓-๐-๖)
(Creative Writing)
หลักและศิลปะการเขียน ฝึกการเขียนร้อยแก้วและร้อยกรองชนิดต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิง
คดี โดยค านึงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความถนัดของผู้เรียนเป็นส าคัญ