Page 102 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 102
คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
๙๐ คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น ๙๑ 91
การตัดสินผลการเรียน การสอบภาคปฏิบัติและการให้คะแนน ศึกษาผลงานวิจัยเพื่อน าไปใช้แก้ปัญหาและ ๒๐๔ ๓๐๕ ร้อยกรองไทย ๓ (๒-๒-๕)
พัฒนาผู้เรียน รวบรวมข้อมูลและรายงานผลการศึกษาสังเกต เมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (Thai Poetry)
๒๐๐ ๔๑๓ ฝึกประสบการณ์วิชาชีพระหว่างเรียน ๒ ๒ (๐-๔-๒) รูปแบบของร้อยกรองไทยประเภทต่าง ๆ ลักษณะเนื้อหา ลีลา วรรณศิลป์ของร้อยกรองใน
(Professional Experiences 2) แต่ละสมัย การถอดค าประพันธ์ ฝึกเขียน และฝึกอ่านค าประพันธ์รูปแบบต่างๆ
พัฒนาความเป็นครูมืออาชีพโดยฝึกเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ ๒๐๔ ๓๐๖ วิวัฒนาการของภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
ออกแบบทดสอบ วัดและประเมินผลผู้เรียน และฝึกปฏิบัติการสอนแบบจุลภาคในสถานการณ์จ าลองตามแผน (Evolution of Thai)
สังเกตการสอนของเพื่อน ทดลองปฏิบัติการสอนจริงในสถานศึกษา รวมทั้งแก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียนโดย ประวัติของภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาไทยด้านเสียง ตัวอักษร ค า ความหมาย และ
ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียน บันทึกข้อมูลและน าเสนอผลการศึกษาเมื่อสิ้นสุดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ไวยากรณ์ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน
๒๐๐ ๕๑๔ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๑ ๖ (๐-๑๘-๐) ๒๐๔ ๓๐๗ ภาษาศาสตร์ภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
(Teaching Internship 1) (Thai Linguistics)
บูรณาการความรู้ในวิชาชีพครูและวิชาเฉพาะสู่การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอกโดยใช้กล ลักษณะของภาษาไทย ในด้านระบบเสียง ค า ประโยคตามแนวทางภาษาศาสตร์ เพื่อน า
ยุทธ์การสอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ๆ ได้ สามารถวัดและประเมินผลและ ความรู้ทางภาษาศาสตร์ไปใช้ในการสอนภาษาไทย
น าผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน ศึกษาและท าวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาคุณภาพของผู้เรียน ปฏิบัติงานอื่นที่ ๒๐๔ ๓๐๘ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
ได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนเมื่อสิ้นสุดภาค (Foreign Languages in Thai)
การศึกษา ประวัติและลักษณะส าคัญของภาษาต่างประเทศต่างๆ ที่เข้ามามีบทบาทในภาษาไทย ที่มา
๒๐๐ ๕๑๕ ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ๒ ๖ (๐-๑๘-๐) รากศัพท์ การกลายรูปค า การกลายเสียง การกลายความหมาย ลักษณะส าคัญที่แตกต่างกันของภาษานั้น ๆ
(Teaching Internship 2) ๒๐๔ ๓๐๙ คติชนวิทยา ๓ (๓-๐-๖)
บูรณาการความรู้ในวิชาชีพครูและวิชาเฉพาะสู่การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอกโดยใช้กล (Folklore)
ยุทธ์การสอนเพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้ สามารถวัดและประเมินผลและ ความหมาย ประวัติ ประเภท และคุณค่าของคติชน วิถีชีวิตไทย คุณธรรม จริยธรรม ความ
น าผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน สามารถประเมิน ปรับปรุง และท าวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น บทบาทของคติชนในบริบทของสังคมไทย วิเคราะห์คติชนในแต่ละท้องถิ่นที่มีอิทธิพลต่อ
ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา สัมมนาและแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอนเมื่อ สังคมไทย และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนแบบบูรณาการ
สิ้นสุดภาคการศึกษา ๒๐๔ ๓๑๐ การใช้ภาษาไทย ๓ (๒-๒-๕)
(Usage of Thai)
วิชาบังคับ ๔๘ หน่วยกิต หลักเกณฑ์และลักษณะการใช้ภาษาไทย ปัญหาและการแก้ปัญหาการใช้ภาษาไทย วัฒนธรรม
๒๐๔ ๒๐๑ หลักภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖) การใช้ภาษา ในการฟัง ดู พูด อ่าน เขียน ทักษะการใช้ภาษาอย่างมีวิจารณญาณ การใช้ภาษาวิชาการและ
(Thai Grammar) ภาษาในชีวิตประจ าวัน
ลักษณะของภาษาไทยด้านอักษร เสียง พยางค์ ค า วลี ประโยค หลักเกณฑ์การอ่านและการ ๒๐๔ ๓๑๑ นวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย ๓ (๓-๐-๖)
เขียนค า เพื่อน าไปใช้ในการเรียนการสอน (Innovation of Learning Management in Thai)
๒๐๔ ๒๐๒ วรรณคดีไทยปริทัศน์ ๓ (๓-๐-๖) การผลิตสื่อและแบบเรียนภาษาไทย นวัตกรรมจากงานวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทย
(Thai Literature Review) การผลิตสื่อใหม่ๆ มาใช้ในการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ความหมายและประเภทของวรรณคดีและวรรณกรรมไทย การปริทัศน์วรรณคดีและ ๒๐๔ ๔๑๕ วรรณกรรมท้องถิ่นเปรียบเทียบ ๓ (๓-๐-๖)
วรรณกรรมไทยประเภทต่างๆ ตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน และออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอน (Comparatives Local Literary Works)
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยแบบบูรณาการ ความหมาย ประเภทและลักษณะวรรณกรรมท้องถิ่นประเภทต่างๆ ในด้านรูปแบบ เนื้อหา
๒๐๔ ๒๐๓ การพัฒนาทักษะการอ่าน ๓ (๒-๒-๕) แนวคิด การน าวรรณกรรมของแต่ละท้องถิ่นมาเปรียบเทียบกัน และน ามาประยุกต์ใช้ในการเรียนการสอน
(Reading Skill Development) รายวิชาภาษาไทย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับหลักการและกระบวนการอ่าน การอ่านอย่างมีวิจารณญาณ การอ่าน ๒๐๔ ๔๑๖ วรรณกรรมสมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
ร้อยแก้วและร้อยกรอง การใช้ทักษะ เพื่อการอ่านอย่างมีประสิทธิภาพ การประเมินทักษะการอ่าน (Modern Literary Works)
การออกแบบกิจกรรมพัฒนาทักษะการอ่าน พัฒนาการ ประเภท และองค์ประกอบของวรรณกรรมสมัยใหม่ เรื่องสั้น นวนิยาย สารคดี ชีวประวัติ
๒๐๔ ๒๐๔ การพัฒนาทักษะการเขียน ๓ (๒-๒-๕) อัตชีวประวัติ ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสังคม วิเคราะห์และประเมินค่าวรรณกรรมประเภทต่าง ๆ
(Writing skill Development) ๒๐๔ ๔๑๗ วาทการ ๓ (๒-๒-๕)
การเลือกใช้ค า การสร้างประโยค การเรียบเรียงข้อความ การเขียนย่อหน้า การเขียน (Rhetoric)
เรียงความ บทความ ย่อความ การแต่งค าประพันธ์ การเขียนเชิงวิชาการ การเขียนหนังสือราชการ การใช้ ศิลปะการใช้ภาษา หลักการพูด การเล่าเรื่องราว การแสดงความรู้สึกนึกคิด การพูดโน้มน้าว
ภาษาให้เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ และบุคคล การใช้ส านวนโวหาร รูปแบบและกลวิธีการเขียน ใจ บุคลิกภาพ และการพูดในโอกาสต่างๆ