Page 104 - คู่มือนิสิต ปีการศึกษา 2563
P. 104

คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น |
 ๙๒                                                                   คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                 คู่มือนิสิตระดับปริญญาตรี วิทยาลัยสงฆ์ขอนแก่น                                                               ๙๓  93


 ๒๐๔  ๔๑๙   การวิจัยทางการสอนภาษาไทย                  ๓ (๒-๒-๕)         กลุ่มวิชาการสอนภาษาไทย ๓ หน่วยกิต
             (Research Methodology for Teaching Thai)   ๒๐๔  ๔๓๑    สัมมนาการสอนภาษาและวรรณคดีไทย               ๓ (๒-๒-๕)
       ระเบียบวิธีวิจัยทางการเรียนการสอนภาษาไทย ฝึกออกแบบงานวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการ        (Seminar on Teaching Thai Language and Literature)
 สอนภาษาไทย การเลือกหัวข้อและการเขียนโครงร่างวิจัย การก าหนดวัตถุประสงค์และกรอบความคิด การเก็บ         การวิเคราะห์ สังเคราะห์ปัญหาการเรียนการสอนภาษาและวรรณคดีไทย การประเมินผลการ
 รวบรวมข้อมูลแบบต่างๆ การจ าแนก วิเคราะห์ และการตีความข้อมูล การเขียนรายงานการวิจัย    สัมมนา การก าหนดแนวทางการสอนภาษาและวรรณคดีไทย การน าเสนอการศึกษาเป็นกรณีศึกษา
 ๒๐๔  ๔๒๑   ศึกษาอิสระทางการสอนภาษาไทย                ๓ (๐-๖-๖)           วิชาการสอนวิชาเอก ๖ หน่วยกิต
       (Independent Studies in Teaching Thai)   ๒๐๔  ๔๑๘   การสอนภาษาไทย                                     ๓ (๒-๒-๕)
       ค้นคว้าวิจัยภาคสนามทางการสอนภาษาไทย  ที่สามารถประยุกต์ใช้ในการสอนภาษาไทย                  (Teaching Thai)
 โดยความเห็นชอบและควบคุมดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา         ทฤษฎีการเรียนรู้และการสอนร่วมสมัย ทักษะและวิธีสอนที่ใช้ในการสอนภาษาไทย วิเคราะห์
                  หลักสูตรภาษาไทยขั้นพื้นฐาน การออกแบบการจัดการเรียนรู้ภาษาไทยและการวัดและประเมินผลการสอนวิชา
       วิชาเลือก ๒๐ หน่วยกิต   ภาษาไทย และการสาธิตการสอน
       กลุ่มวิชาหลักภาษา ๖ หน่วยกิต   ๒๐๔  ๔๒๐     การสร้างหนังสือภาษาไทยส าหรับเด็ก                  ๓ (๒-๒-๕)
 ๒๐๔  ๓๑๒   ภาษาบาลีและสันสกฤตในภาษาไทย                ๓ (๓-๐-๖)         (Creation of Thai Books for Children)
       (Pali and Sanskrit in Thai)         หลักการและขั้นตอนการสร้างหนังสือให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละวัยในด้านเนื้อหา ภาษา
       ประวัติและลักษณะภาษาบาลีและสันสกฤต การยืมค าภาษาบาลีและสันสกฤตมาใช้ใน  ภาพประกอบและรูปเล่ม
 ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงทางเสียง ค า และความหมาย ตลอดจนหลักการสังเกตค าบาลีและสันสกฤตที่ใช้ใน
 ภาษาไทย                        วิชาเลือกวิชาเอก ๔ หน่วยกิต
 ๒๐๔  ๔๒๒   ภาษาเขมรในภาษาไทย  ๓ (๓-๐-๖)         กลุ่มวิชาหลักภาษา
       (Khmer in Thai)   ๒๐๔  ๓๑๓   ภาษาไทยถิ่น                                                  ๒ (๒-๐-๔)
       ประวัติและลักษณะภาษาเขมร การยืมค าภาษาเขมรมาใช้ในภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงทาง        (Thai Dialects)

 เสียง ค าและความหมาย ตลอดจนหลักการสังเกตค าเขมรใช้ในภาษาไทย                        ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาถิ่น ระบบเสียง ค า ประโยคของภาษาไทยถิ่นต่างๆ เปรียบเทียบ
                  ความเหมือนและความแตกต่างของภาษาไทยถิ่นต่างๆ กับภาษาไทยมาตรฐาน
       กลุ่มวิชาวรรณคดีและวัฒนธรรมไทย ๘ หน่วยกิต   ๒๐๔  ๔๓๕      ภาษาไทยเชิงสังคมวิทยา                   ๒ (๒-๐-๔)
 ๒๐๔  ๔๒๓   วรรณคดีวิจารณ์                            ๓ (๓-๐-๖)          (Thai Language on Sociological Aspects)
       (Literary Criticism)             ความสัมพันธ์ระหว่างภาษาไทยกับโครงสร้างของสังคมไทย ที่สะท้อนให้เห็นสถานะ อาชีพ
       หลักเกณฑ์ ทฤษฎีและแนวการวิจารณ์วรรณคดีประเภทต่างๆ วิจารณ์วรรณคดีและ  และสังคม สังเกตการใช้ภาษาไทยในสถานะและอาชีพที่แตกต่างกัน
 วรรณกรรมไทยประเภทต่างๆ  ในแต่ละยุคสมัย
 ๒๐๔  ๔๒๔   วรรณกรรมกับทัศนศิลป์                    ๓ (๓-๐-๖)         กลุ่มวิชาวรรณคดีและวัฒนธรรมไทย
       (Literary Works and Visual Arts)   ๒๐๔  ๔๒๖   วรรณคดีเปรียบเทียบ                                  ๒ (๒-๐-๔)
       ความสัมพันธ์ระหว่างวรรณกรรมกับสถาปัตยกรรม ประติมากรรม และจิตรกรรม ทั้งของราช        (Comparative Literature)
 ส านักและท้องถิ่น อิทธิพลของวรรณกรรมที่มีต่อทัศนศิลป์ และอิทธิพลของทัศนศิลป์ที่มีต่อวรรณกรรม          ทฤษฎีและแนวทางวรรณคดีเปรียบเทียบ เปรียบเทียบวรรณคดีไทยกับวรรณคดีชาติอื่นๆ
 ๒๐๔  ๔๒๕     วิวัฒนาการของวรรณคดีไทย                  ๒ (๒-๐-๔)   ในด้านรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด
       (Evolution of Thai Literature)   ๒๐๔  ๔๒๗   วรรณคดีค าสอน                                         ๒ (๒-๐-๔)
       ประวัติวรรณคดีไทยสมัยต่างๆ การเปลี่ยนแปลงของวรรณคดีในด้านรูปแบบ เนื้อหา แนวคิด         (Didactic Literature)
 ความสัมพันธ์กับสังคมไทย อิทธิพลของวรรณคดีต่างประเทศที่มีต่อวรรณคดีไทย               วรรณคดีค าสอนของไทยและวรรณคดีค าสอนของต่างประเทศที่แปลเป็นภาษาไทย  การสอน
                  จริยธรรมในวรรณคดีไทย เลือกศึกษาวรรณคดีค าสอนบางเรื่องโดยละเอียด
       กลุ่มวิชาทักษะการใช้ภาษา ๓ หน่วยกิต   ๒๐๔  ๔๓๖   วรรณคดีประวัติศาสตร์                                   ๒ (๒-๐-๔)
 ๒๐๔  ๔๒๘   การเขียนเชิงสร้างสรรค์                     ๓ (๓-๐-๖)         (Literature in History)
       (Creative Writing)               ลักษณะวัตถุประสงค์ ประเภทและคุณค่าของวรรณคดี เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
       หลักและศิลปะการเขียน ฝึกการเขียนร้อยแก้วและร้อยกรองชนิดต่างๆ ทั้งสารคดีและบันเทิง  ประวัติศาสตร์เปรียบเทียบในวรรณคดี และเลือกศึกษาวรรณคดีบางเรื่องโดยละเอียด
 คดี โดยค านึงถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และความถนัดของผู้เรียนเป็นส าคัญ
   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109